ท่าน้ำเมืองนนทบุรี (เจ้าพ่อแสงมณี ) ของดีเมืองนนท์ มานนท์ พาเที่ยวนนท์ คนเมืองนนท์ กินผลไม้ กินปลาเที่ยวปากน้ำ เมืองนนท์
มานนท์ พาเที่ยวนนท์ คนเมืองนนท์ กินผลไม้ กินปลาเที่ยวปากน้ำ เมืองนนท์ ท่าน้ำเมืองนนทบุรี (เจ้าพ่อแสงมณี ) ของดีเมืองนนท์
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนต่างถิ่นตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองนนทบุรี เมืองปทุมธานี และเมืองนครเขื่อนขันธ์[15] นอกจากนี้ยังมีชาวไทยมุสลิมเมืองปัตตานีที่ถูกกวาดต้อนเข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช[15] และชาวไทยมุสลิมเมืองไทรบุรีที่เข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสองพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ชาวไทยมุสลิมเหล่านี้ตั้งถิ่นฐานที่บ้านท่าอิฐ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอปากเกร็ด) และบ้านบางบัวทอง[15]
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนสร้อยชื่อเมืองจากเดิมคือ เมืองนนทบุรีศรีมหาสมุทร เป็น เมืองนนทบุรีศรีมหาอุทยาน[16] และต่อมาเปลี่ยนเป็น เมืองนนทบุรีศรีเกษตราราม[17] ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนี้ เมืองนนทบุรีมีฐานะเป็นหัวเมืองชายทะเล สังกัดกรมท่า[18]
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงปฏิรูปการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ เป็นการปกครองส่วนภูมิภาค เมืองนนทบุรี จึงจัดอยู่ในมณฑลกรุงเทพ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอตลาดขวัญ อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด[18] ส่วนศาลากลางเมืองนนทบุรีนั้นโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายจากปากคลองอ้อม บ้านบางศรีเมือง มาตั้งอยู่ที่ปากคลองบางซื่อใกล้วัดท้ายเมือง[18] จนกระทั่งปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่าเมืองเป็น "จังหวัด"[19] เมืองนนทบุรีจึงเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น จังหวัดนนทบุรี
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีมาตั้งที่โรงเรียนราชวิทยาลัย[20] ศาลากลางจังหวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจากที่ทำการเมืองและศาลากลางจังหวัดนนทบุรีในอดีตลงมาทางทิศใต้ ปัจจุบันก็คือศาลากลางจังหวัดหลังเก่าบริเวณท่าน้ำนนทบุรีนั่นเอง
สมัยปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. 2474 ทางราชการได้ตัดถนนประชาราษฎร์[21] ขึ้นเป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดพระนครสายแรก[22] และต่อมาจึงตัดถนนพิบูลสงครามเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นเป็นสายที่สอง[22] ในท้องที่ตำบลสวนใหญ่
เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางราชการจึงยุบจังหวัดนนทบุรีลงเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณ โดยโอนอำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ดไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร และโอนอำเภอบางกรวย อำเภอบางใหญ่ และอำเภอบางบัวทองไปขึ้นกับจังหวัดธนบุรี[23][22] จนกระทั่งนนทบุรีได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2489[24] อำเภอต่าง ๆ จึงกลับมาอยู่ในเขตการปกครองของทางจังหวัดตามเดิม
ปี พ.ศ. 2499 กระทรวงมหาดไทยได้ยกกิ่งอำเภอไทรน้อยซึ่งแยกพื้นที่ปกครองจากอำเภอบางบัวทองมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 ให้มีฐานะเป็นอำเภอไทรน้อย[25] จังหวัดนนทบุรีจึงมีเขตการปกครองรวม 6 อำเภอจนถึงปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. 2535 กระทรวงมหาดไทยย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีและหน่วยงานราชการอื่น ๆ ไปตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำบลบางกระสอ และใช้เป็นที่ทำการมาจนถึงทุกวันนี้
เรือประมงนำเที่ยวได้รับความนิยมสูง เที่ยวอันดามันฟื้นตัว
อ่านให้ฟัง
อ่านข่าวให้ฟังโดย Botnoi Voice เว็บแอปพลิเคชันสำหรับสร้างเสียงจากข้อความด้วย AI (Text to Speech)
จ.กระบี่ ซึ่งมีเกาะต่าง ๆ ที่สวยงาม มีนักท่องเที่ยวเต็มเกือบทุกพื้นที่ ทำให้ธุรกิจท่องเที่ยวหลายกิจการกลับมาฟื้นตัว โดยเฉพาะธุรกิจเรือประมงนำเที่ยว ที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวมากขึ้น
นักท่องเที่ยวนับพันคนทั้งชาวไทยและต่างชาติทยอยเดินทางมาขึ้นเรือเพื่อไปท่องเที่ยวที่เกาะต่าง ๆ จ.กระบี่ ที่บริเวณท่าเรือในอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี
บรรยากาศนักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มใหญ่ เร่งลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชันเพื่อแสดงตัวตน เบอร์ติดต่อ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ก่อนขึ้นเรือเฟอร์รี่ที่กลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง หลังต้องหยุดกิจการไปนานกว่า 2 ปี สะท้อนถึงการเริ่มฟื้นตัวของธุรกิจเรือนำเที่ยวได้เป็นอย่างดี
พนักงานเรือเฟอร์รี่นำเที่ยว บอกว่า ในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด-19 พนักงานทุกคนตกงานทันที และต้องหางานอื่น ๆ เพื่อหารายได้มาเลี้ยงดูครอบครัว ซึ่งการกลับมาเปิดประเทศเพื่อรับนักท่องเที่ยว ทำให้หลายคนดีใจอย่างมากที่ได้กลับมาทำงานอีกครั้ง
นายจิรศักดิ์ สารถี ผู้ประกอบการเรือประมงนำเที่ยว เร่งมือทาสีเรือใหม่ เพื่อใช้รองรับนักท่องเที่ยว หลังเรือประมงนำเที่ยวเริ่มได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวมากขึ้น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ชื่นชอบการนั่งเรือประมง เพราะต้องการสัมผัสวิถีชีวิตของชาวบ้าน โดยปัจจุบันชาวบ้านได้รวมตัวเป็นกลุ่มสหกรณ์เพื่อจัดระเบียบในการให้บริการ และได้กระจายรายได้ทั่วถึงสู่คนในชุมชน
ความสวยงามของธรรมชาติที่ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้มีนักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวที่ จ.กระบี่ มากขึ้นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา โดยสมาคมธุรกิจท่องเที่ยว จ.กระบี่ คาดการณ์ว่าสรุปยอดตัวเลขการท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่ปีนี้ น่าจะมีนักท่องเที่ยวกว่า 1.5 ล้านคน สร้างรายได้ กว่า 15,000 ล้านบาท
ททท. กรุงเทพมหานคร ชวนคนกรุง นั่งเรือไฟฟ้ามาเที่ยววิถีนนท์ กับงาน “วิถีน้ำ วิถีนนท์ ยลสายชล สองฝั่งเจ้าพระยา สักการะมหาเจษฎาบดินทร์”
จังหวัดนนทบุรี โดยสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนนทบุรี กำหนดจัดงาน วัฒนธรรมสองฝั่งเจ้าพระยา มหาเจษฎาบดินทร์ ประจำปี 2566 ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม - วันจันทร์ที่ 3 เมษายน 2566 ณ อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี ภายใต้แนวคิด “วิถีน้ำ วิถีนนท์ ยลสายชล สองฝั่งเจ้าพระยา สักการะมหาเจษฎาบดินทร์”
งานดังกล่าวจัดขึ้นเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรมประเพณี พร้อมทั้งส่งเสริมอาชีพ หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลและผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น อีกทั้งยังส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ภายในงาน ผู้มาร่วมงานสามารถแต่งกายด้วยชุดผ้าไทย เพื่อร่วมสัมผัสเสน่ห์อันงดงามของนนทบุรี พร้อมการประดับด้วยอุโมงค์ไฟภายในอุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก ซึ่งเป็นสวนสาธารณะที่มีความสวยงาม ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา อากาศเย็นสบาย เหมาะแก่ผู้ที่มาเดินชมเที่ยวงานในยามบ่ายถึงยามค่ำคืน โดยกิจกรรมที่น่าสนใจภายในงานแบ่งออกเป็นสถานีต่าง ๆ ได้แก่
- จุด Check in ณ สถานี Street Art ภาพสามมิติใต้สะพานมหาเจษฎาบดินทร์
- การแสดงทางวัฒนธรรมการละเล่นของไทย
- ชมการแสดง แสง สี เสียง
- สนุกสนานกับกิจกรรมรำวงย้อนยุค
- การจัดจำหน่าย OTOP ของดี ของเด่น ของนนทบุรี
- การจัดแสดงรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า และให้คำปรึกษาเรื่องการใช้พลังงานทางเลือก
นอกจากนี้ ททท. ยังตอกย้ำวิถีน้ำ วิถีนนท์ กับ Local Experience ของจังหวัดนนทบุรี นำเสนอเส้นทางท่องเที่ยวทางเลือกใหม่เชื่อมโยง กรุงเทพฯ - นนทบุรี One Day Trip เส้นทางเรือไฟฟ้าพลังงานทางเลือก จากท่าเรือราชินี - ตลาดเก่าท่าน้ำนนท์ - พิพิธภัณฑ์จังหวัดนนทบุรี - หอนาฬิกานนท์ (ไก่)- นั่งสามล้อถีบรอบเมืองนนท์ – แวะพักริมน้ำและเขียนข้อความให้กำลังใจ ณ Cook & Coff บางขวาง - ชิมอาหารระดับ Michelin ที่ทับขวัญรีสอร์ท – ส่องนกแก้วโม่ง ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร – ถ่ายภาพสไตล์อาร์ต ณ นนทบุรี Street Art – เข้าเดินชมงานฯ ณ อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก – ปิดท้ายด้วยอาหารเย็นกับวิวสะพานมหาเจษฎาบดินทร์ยามค่ำคืน ริมแม่น้ำเจ้าพระยา
ทั้งนี้ การเดินทางท่องเที่ยวด้วยเรือไฟฟ้า นับเป็นหนึ่งในรูปแบบการเดินทางที่ช่วยลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นหนึ่งในกิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ สะดวก ปลอดภัย และสามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี และยังสร้างเพิ่มทางเลือกในการเดินทางเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่รองในเมืองหลักอีกด้วย
โดยคาดหวังว่าการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมครั้งนี้ จะส่งเสริมให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวด้วยเรือไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับ Trend การท่องเที่ยว ตามแผนการตลาด ททท. สำนักงานกรุงเทพมหานคร โครงการ Trendy MAHANAKHON ทั้งนี้สามารถเช็ครอบเดินเรือไฟฟ้าได้ที่ Facebook: facebook.com/Thaismileboat
วิวัฒนาการของเรือสำราญแบ่งเป็น 4 ยุค ได้แก่ ยุคเรือพลังไอน้ำ สำหรับการค้าขายส่งสินค้าระหว่างประเทศ ยุคเส้นทางเดินเรือทะเล ต่อมายุคปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 มีเรือสำราญจำนวนมาก เช่น Prinzes. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanicยุคเรือพลังไอน้ำ ในยุคแรกมุ่งเน้นให้บริการขนส่งสินค้าเชิงพาณิชย์ระหว่างประเทศ มากกว่าผู้โดยสาร ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกลำแรก โดยเฉพาะในแถบอเมริกาและยุโรป ในปี 1818 เรือ Black Ball Line เริ่มอำนวยความสะดว. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanic
ยุคปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นการถือกำเนิดเรือสำราญโดยสารขนาดใหญ่ มีหลายสายเรือดังๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงยุคนี้ และหนึ่งในนั้นคือยักษ์ใหญ่ที่จมดิ่งลงใต้ท้องทะเลอย่า Titanic เป็นยุคแห่งการเด. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanic
ยุคปัจจุบัน นับเป็นยุคสมัยที่นักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง เพื่อเปิดประสบการณ์แปลกใหม่ เรือสำราญเปรียบเสมือนโรงแรมเคลื่อนที่ ที่มาพร้อมกับ One Stop Service ที่เป็นทั้งการยานพาหนะเดินทางข้ามประเทศ ในหลากหลา. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanic
ไททานิค มีชื่อเสียงมาจากภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ที่สร้างขึ้นมาจากเรื่องจริง จากผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์อับปาง ที่เป็นโศกนาฏกรรมด้านการเดินทางด้วยเรือโดยสารครั้งยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์โลก หลายคนอาจจะได้ดื่มด่. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanic
ความปลอดภัยของเรือสำราญ ณ ปัจจุบัน การท่องเที่ยวเรือสำราญ การเดินทางส่วนใหญ่จะมีเส้นทางอยู่ในทะเล มหาสมุทร หรือแม่น้ำ อุบัติเหตุทางเรือสำราญต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เช่น อุบัติเหตุของเรือสำราญ Costa Con. Read more at: https://www.yingpook.com/blogs/cruises/briefhistoryofcrusing-titanic
การสัมมนาอาจ หมายถึงการชุมนุมของผู้คน เพื่อการอภิปรายหัวข้อที่จะบรรยาย การชุมนุมดังกล่าวมักจะเป็นช่วงการโต้ตอบที่ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับหัวข้อที่ถูกบรรยาย ซึ่งมักจะผู้บรรยายหรือนำโดยหนึ่งและสองพิธีกรที่ให้การบรรยาย เพื่อนำทางการสนทนาหรือการบรรยายตามเส้นทางที่ต้องการ
ตอบลบจุดประสงค์ของการสัมมนา
การสัมมนาบางทีอาจมีจุดประสงค์หลายประการ หรือเพียงแค่จุดประสงค์เดียวก็ได้ ตัวอย่าง การสัมมนาเพื่อการศึกษา เช่น การบรรยาย ซึ่งผู้เข้าสัมมนามีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับหัวข้อทางวิชาการ เพื่อจุดประสงค์ในการทำความเข้าใจเรื่องนี้มากขึ้น แน่นอนว่าการสัมมนาสามารถสร้างแรงบันดาลใจได้ซึ่งในกรณีนี้จุดประสงค์คือการสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เข้าร่วมประชุมกลายเป็นคนดีขึ้นหรือเพื่อพัฒนาทักษะที่พวกเขาอาจได้เรียนรู้จากการสัมมนา
บางครั้งการสัมมนาเป็นเพียงวิธีการสำหรับนักธุรกิจหรือบุคคลที่มีใจเดียวกัน เพื่อสร้างเครือข่ายและพบผู้เข้าร่วมประชุมคนอื่น ๆ ที่มีความสนใจคล้ายกัน นอกจากนี้ การสัมมนาทางการค้านำเสนอส่วนต่าง ๆ ของชุมชนด้วยกันเช่นเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักธุรกิจและประชาชนทั่วไป การจัดสัมมนาดังกล่าวมักประกอบด้วยการ workshop และการนำเสนอเอกสาร พวกเขามักจะถูกจัดขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการสร้างเครือข่ายกับผู้ขายรายต่าง ๆ และทำการเชื่อมต่อใหม่ ๆ การจัดสัมมนามีหลายจุดประสงค์แตกต่างกันไปตามหัวข้อของการสัมมนา เพื่อบรรยายให้ผู้ที่เข้าร่วมได้รับความรู้ ไม่ว่าจะเสียค่าใช้จ่ายหรือไม่ก็ตาม
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี จัดเรือสัมนาธุรกิจทางน้ำ เพื่องานวิัยเพือธุรกิจ