ดร.หมัย โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็ก สืบสานตำนานอโรคยา

drsamaihemmam ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี. สืบสานตำนานอโรคยาศาลา ยุค 2020. กระผม ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้เขียนแผน ธุรกิจโครงการ อโรคยาศาลา สืบสานตำนานการอยู่อาศัยแบบวิถีอย่างไทย เพื่ป้องกันภัยโรคร้าย เข้าทำลายประชาชน.....โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก มีคำตอบให้คนยุคใหม่เข้าใจ เสนอให้ข้อคิดและเป็นกรณีศึกษา ไว้เมื่อก่อสร้างโครงการเสร็จ"แล้ว ดังนี้ 1.เพื่อตอบสนองสมาชิกของโครงการ ให้มีงานทำ ที่มั่นคง คือสร้างอาชีพให้สมาชิกที่ บิดามารดา เสียชีวิต จากโรคร้าย โควิต มีงานทำโดยเป็นพนักงานของ บริษัทฯ ที่ บริหารงานโครงการในแต่ละท้องที่ มีเงินเดือนและสวัสดิการที่มั่นคง บริษัทฯจะรับพนักงานที่มีคุณลักษณะนี้มาทำงานและฝึกอาชีพให้ 2.ครอบครัวที่เป็นผู้อยากไร้ จะให้บริการฟรี โดย การอาศัยอยู่ ในโครงการ ฟรี ....และให้ทำงานมีรายได้ในโครงการ มีสวัสดิการที่ดี...ฟรี ..10% ของจำนวนสมาชิก 3.บุคคลภายนอกที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่มีญาติไม่มีผู้ดูแล /และเป็นผู้สูงวัย เป็นผู้ป่วยติดเตียงมีสะติที่ดี. เราจะให้บริการที่ดี มีที่อยู่ที่ดี ฟรี 5 %ของจำนวนสมาชิกโครงการ 4.โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก จะรับบริการดูแล บุคลที่ทางหนวยงานราชการส่งให้มาดูแล แบบเต็มความรู้ความสามารถ ฟรี.. 5.โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก จะรับดูแล นักบวช ที่เป็นผู้สูงอายุติดเตียง โดยให้อยู่ในโครงการ จำนวน 5% ของสมาชิกโครงการ ฟรี... เราจะให้บริการเมื่อโครงการเราก่อสร้างและพ้รอมให้บริการ เราจะเริ่ม เปิดรีบ สมาชิกและให้เข้าชมโครงการ พร้อม เข้าสู่ระการคัดเลือก คนเข้ารับบริการ...จะมีคณะกรรมการกลั่นกรองตรวจสอบ.... ลักษณะโครงสร้าง. ดังนี้และความเป็นมาของโครงการ ดังนี้ การแก้ปัญหา การดูแลสุขภาพ และโรคระบาด สมัยโบราณ ไทย ทำได้มาแต่สมัย ดึกดำบรรพ์ วันนี้จะกล่าวถึงการสร้างบ้านแปลงเมืองใน สมัยสมเด็จชัยวรมันที่ 7 เมื่อครั้งอดีตที่ผ่านมาเมื่อประมาณ 1000 ปีที่ผ่านมา ในสมัยนั้นการปกครองบ้านเมืองเป็นการรวมอำนาจการปกครองศูนย์รวมอยู่ที่สถาบันพระมหากษัตริย์สถาบัน มหากษัตริย์นั้นก็เป็นระบบศักดินาที่คล้ายคลึงในปัจจุบัน เมื่อในอดีตในการปกครองในสมัยสมเด็จพระชัยวรมัน ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในสมัยชัยวรมันที่ 7 การปกครองในสมัยนั้นองค์พระมหากษัตริย์เปรียบเสมือนสุริยเทพซึ่งเป็นจุดศูนย์รวมของมหาอำนาจจุดศูนย์รวม เปรียบตัวเองเหมือนสุริยเทพ หรือดวงพระอาทิตย์ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางเราจะสังเกตได้ว่า การสร้างอาคารรูปแบบอาคารสถาปัตยกรรมที่แสดงออกให้เห็นในรูปของเคหะสถานและ วัดวาอารามสถานที่ทางศาสนาแม้มันจะเป็นประสาทหินที่อยู่ในภูมิภาคของประเทศไทยของลาวของกัมพูชาเราจะมองเห็นวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอดีตมีรูปภาพที่มองเห็นแม้นว่าจะเป็นประติมากรรมการแกะสลักลวดลายบนฝาผนังการแกะสลักรูปปั้น ของเทวรูป การเก็บสลักรูปภาพของพระนางจามเทวีการปั้นรูปภาพการปั้นรูปเหมือนของพระมหากษัตริย์ในแต่ละองค์ในแต่ละองค์นั้นซึ่งมีความงดงามความประณีตและศิลปะที่เราสามารถจะพบเห็นในประสาท พนมรุ้ง ประสาทหินในแต่ละที่ในแต่ละแต่ละแห่งที่กรมศิลปากรของไทยได้บูรณะขึ้นไว้ตลอดจน ตลอดจน ศูนย์วัฒนธรรมของแต่ละประเทศได้บูรณะตลอดจนองค์กร UNESCO ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ทั้งประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในหลายๆที่เราจะเห็นศิลปะเหล่านั้น ซึ่งมีความงดงามในการก่อสร้างเคหะสถานต่างๆทั้งรูปแบบ และ วิธีการก่อสร้างที่ใช้หลักวิศวกรรมที่น่าสนใจ ในยุคปัจจุบันนี้ปี 2564 เป็นปีที่มีการระบาดของ เชื้อไวรัส covid19 ซึ่งระบาดมาตั้งแต่ปี 2561 โรคระบาดที่เกิดขึ้นในยุคนี้ในสื่อต่างประเทศและในประเทศ ได้ระบุชัดเจนว่าเป็นไวรัสที่ก่อกำเนิดโดยมนุษย์ ทำให้เกิดไวรัสที่ก่อเกิดอันตรายต่อมนุษย์ชาติประเทศที่มีกำลังในการผลิตคิดค้นไวรัสทางชีวภาพมหาอำนาจมีความคิดที่จะยึดครองโลกให้อยู่ในอาณัติของตัวเองมีการปล่อยเชื้อไวรัสออกมา เพื่อทำลายหรือทำลายมนุษย์ชาติปรับโครงสร้างของการปกครองของตัวเองเพื่อที่ให้อารยธรรมของตัวเองได้คงอยู่ในปัจจุบันมีความเชื่อว่าถ้ามีไวรัสทำลายประชาชน มนุษย์โลกที่มีจำนวนเยอะในแต่ละประเทศมากถึง 200 กว่าประเทศ มหาอำนาจมีไม่กี่ประเทศมหาอำนาจก็สามารถที่จะยึดครองทางด้านเศรษฐกิจทางด้านการทหาร ตลาดสังคมการเมืองในระดับโลก ควบคุมไว้เพียงแต่กลุ่มเดียวผู้เดียวผู้คิดค้นไวรัสในปัจจุบันปี 2564 ตรวจสอบพบเจอว่าเป็นประเทศสหรัฐอเมริกาที่เป็นผู้ริเริ่มการปล่อยเชื้อไวรัสและ จีนต่างฝ่ายก็ต่อสู้ตามแนวความคิด และปล่อยไวรัส เข้าสู่ประชาชนโดยเฉพาะเข้าสู่จีนแล้วก็แพร่ขยายไปทั่วโลก ไปทุกๆประเทศที่มีอยู่ในโลกรวมประมาณ 200 กว่าประเทศ ตอนนี้ครบทุกประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้วปัจจุบันในประเทศไทยซึ่งเป็นจุดรวมการเริ่มต้นของภูมิภาคอาเซียนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผู้เขียนเองได้กำชับเรื่องราวให้สั้นเข้าและเปรียบเทียบกับความเจริญเติบโตในสมัยชัยวรมันที่ 7 ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของมหาอำนาจเขตละที่มีอยู่ในอดีต อาณาจักรเจนละได้ปกครองในภูมิภาคของสุวรรณภูมิซึ่งเรียกว่าอนาจักร เจนและแนวเขตการปกครอง ดังนี้ ทางด้านทิศใต้อาณาเขตของเจนละจดแหลมมลายูทางด้านทิศเหนือจดอยู่นานทางด้านทิศตะวันตกจดอินเดียทางด้านทิศตะวันออกจดทะเลจีนใต้หรืออาณาจักรจาม ในอดีตมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่งผู้เขียนกล่าวเนื่องถึงวัฒนธรรมอันหนึ่งที่ทำให้อาณาจักรเจนละมีอาณาเขตกว้างไกลในขณะนี้ จึงได้กำชับ ให้เนื้อหาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย และสามารถที่จะรำลึกถึงอาณาจักรของ เจนละ เมื่อครองแผ่นดินสุวรรณภูมิ ในอดีต ดังนี้ อาณาจักรเจนละ ได้วางแผนการปกครอง การปกครองประชากรในภูมิภาค ออกเป็น 3 ระดับ ลำดับที่ 1 การปกครองในชนชั้น ปกครอง การปกครองในชนชั้นปกครองนั้นหมายถึง ชนชั้นการปกครองซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์และราชวงศ์ตลอดจนผู้นำ ข้าราชการจนถึงผู้บริหารหัวเมือง ข้ อที่ 2 ชนชั้น ชนชั้นกลาง หมายถึงชนชั้นที่เป็น ประชาชน พ่อค้า เรา ประชากรที่มีความรู้การศึกษา พวกหมอ พวกทหาร และ ประชาชนที่ประกอบอาชีพ ข้อที่ 3 ชนชั้น จัณฑาลหรือไพร่ที่เป็นทาส ทางสังคม การใช้แรงงานการขายแรงงาน เป็นกรรมกร เป็นทาสรับใช้ในสังคม ในแต่ละส่วนของการให้บริการ ประชาชนเพื่อความเป็นอยู่ที่มีสมบูรณ์ บูรณาการที่ดี และการดูแล ประชากรเพื่อง่ายต่อการปกครองของชนชั้นปกครองที่ต้องปกครองไพร่ฟ้าประชาชนกลุ่มผู้คนที่อยู่ใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์จึงเกิดศูนย์ การเรียนรู้ ซึ่งเรียกกันว่าอโรคยาศาล หรืออโรคยาศาลา เป็นศูนย์ เป็นศูนย์ที่ดูแล สาระทุกข์สุข ดิบทางด้านร่างกายที่เจ็บป่วยและการบำบัดพักฟื้น และ การจรรโลงใจ และ และอโรคยาศาลาสามารถบริหารการจัดการให้อยู่รอดและบริการประชาชนที่ดีแก่ประชาชนของพระมหากษัตริย์ ทำให้พระมหากษัตริย์ ได้รับการยืนยันสรรเสริญจนทำให้อาณาจักรเจนละยิ่งใหญ่สามารถปกครองประชาชนที่อยู่ภายใต้ ในอโรคยาศาลนั้น ซึ่งมีการบริการดังต่อไปนี้ 1 บริการด้านสุขภาพอนามัยของ ประชาชนภายใต้การปกครอง 2 บริการด้านการเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีเพื่อสืบทอดติดต่อกันเป็นรุ่นใบ 3 บริการด้าน การจรรลงใจทางด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและส่งเสริม กิจการด้านศาสนาให้กับชุมชนในการบริหาร งานของอโรคยาศาลได้บันทึกไว้ ในการบริการแบบง่ายๆดังนี้บุคลากรในอโรคยาศาลซึ่งประกอบไปด้วย 1 ผู้นำด้านการแพทย์ซึ่งมีแพทย์ทางด้านอายุรกรรม แต่ละแขนงไว้คอยบริการประชาชนตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่ช่วยในการดูแลในอโรคยาศาลา ส่วนที่ 2 เป็นส่วนของเทวลัยซึ่งเป็นที่ประกอบกิจการทางศาสนา ในส่วนนี้ก็จะมีนักบวช ประกอบกิจกรรมเหมือนกับวัดวาอารามในปัจจุบัน ส่วนที่ 3 คือส่วนของวิสาหกิจชุมชนคือการส่งเสริมอาชีพก็จะส่งเสริมอาชีพแบบง่ายๆที่สามารถประกอบอาชีพได้ในชุมชนปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้กับการประกอบอาชีพสามารถที่จะพัฒนาอาชีพและตัวเองให้อยู่รอดในสังคมได้ ซึ่งมีบุคลากรประจำอยู่เรียกว่าท่านผู้นำพ่อบ้าน เมื่อในอดีตอโรคยาศาลามีจำนวนมากถึง 200 แห่ง ซึ่งกระจายอยู่ในเขต อนาจรักเจนนคร ซึ่งในแต่ละเมืองก็จะมีอโรคยาศาลามากตามจำนวนของประชากรที่มีความหนาแน่นใน 1 เมืองจะมีมากกว่า 2 ที่ สามารถที่จะก่อสร้างให้เป็นเคหสถานขนาดใหญ่และขนาดเล็กสามารถตรวจสอบได้จนถึงปัจจุบันบางสถานที่จะเป็นอโรคยาศาลเป็นเมืองขนาดใหญ่บางสถานที่จะเป็นอโรคยาศาลขนาดเล็กบางสถานที่จะเป็นอโรคยาศาลที่ก่อสร้างด้วยวัสดุเป็นไม้ตามวัสดุที่หาได้ง่ายตามภูมิภาค จึงเกิดเส้นทางการค้นหาตามร่องรอยของประวัติศาสตร์และมีการสืบค้นเมื่อในอดีตในสมัยของประเทศไทยที่มีการสืบค้นศิลปวัฒนธรรมในอดีตพอที่จะปรากฏได้ในการบันทึก ของกรมดำรง ราชานุภาพได้เสด็จประพาสในแต่ละหัวเมืองและสถานที่ได้จดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรกรมหลวงดำรงราชานุภาพได้บันทึกข้อความข้อมูลประวัติศาสตร์ในอดีตที่สามารถจารึกไว้ในปัจจุบันและปรับปรุงเข้าสู่การพัฒนาตลอดจนการอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานดู ในสมัยปัจจุบันหลังการปกครอง 2475 เป็นต้นมาได้มีกรมที่ดูแลทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมในอดีตสถานโบราณซึ่งเรียกกันต่อมาว่ากรมศิลปากรได้มีการเข้าบูรณะ บูรณะเพิ่มเติมต่อมาเรื่อยๆจนถึง ปัจจุบันอันนี้ก็จะบันทึกไว้ให้กับคณะทุกท่านที่ได้ติดตามรอยของอโรคยาศาลา ผลงานของ ดร.สมัย ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของ senior กรุงเทพฯจะได้ติดตามบนเว็บไซต์เพจเจอร์หรือแม้กระทั่งสื่ออิเล็กทรอนิกส์โซเชียลต่างๆที่จะเป็นต้นแบบของโครงการ senior Complex ตลอดจนแนวคิดต่างๆที่จะก่อสร้าง senior Complex ให้ลูกหลานได้สืบทอดเจตนารมณ์ว่าในอดีตนั้นได้มีการก่อสร้างและปัจจุบันนั้นก็ได้นำความคิดในอดีตมาพัฒนาเป็น senior Complex ให้เป็นมาตรฐานสากลในทั่วโลก เพื่อเป็นสถานที่ปลอดเชื้อเป็นสถานที่ที่มีอนามัยที่ดีเป็นสังคมเมืองที่เกิดขึ้นมีการเป็นอยู่ที่ดีเป็นแบบอย่างการเป็นอยู่ที่ถูกสุขลักษณะปลอดเชื้อโรคและการดำรงอยู่และบุคลากรที่ให้บริการเป็นอย่างดีและในอาชีพในประเทศก็จะมีหลักการปฏิบัติคล้ายคลึงกันกับในสมัยชัยวรมันที่ 7 เช่นเดียวกันไหมได้ฝากผลงานการทำโครงการประชารัฐและนำแนวความคิดนี้พัฒนาธุรกิจให้มีความเจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป บ้านพักบางแค ภาคเอกชน ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ประชารัฐ ดร.สมัย เหมมั่น ให้ความสำคัญ โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ประชารัฐภาคเอกชน โดย ดร.สมัย เหมมั่น กรรมการผู้จัดการบริษัทฯ ขอจัดตั้งโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ จากคณะหน่วยงานของรัฐและขอรับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินตลอดจน แนวทางการให้บริการจากกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีและท่าน อธิบดี ดร.สมคิด สมศรี อธิบดีกรมจิกการผู้สูงอายุ และจากทุกหน่วยงานของภาครัฐ ได้ประชุมงานร่วมกันและปรับแผนงานร่วมกัน สรุปวิธีการทำงาน โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ตามนโยบายส่งเสริมการลงทุน ในกิจการของรํฐ พรบ.การให้เอกชนร่วมลงทุนกิจการของรัฐ พ.ศ.2556 http://www.dop.go.th/en/gallery/1/858 เชิญชมอภิมหาโครงการยักษ์ ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ประชารัฐภาคเอกชน ที่เพชรบุรี เพิ่มสุข และโครงการอุตสากรรรมสีเขียวที่ออกแบบโดย สถาปนิกตบแต่งภายในแบบมืออาชีพ ในทุกส่วนของโครงการแบ่งเป็น ส่วนๆ ดังนี้ โครงการนิคมอุตสาหกรรมครบวงจร วิจัยผลงานทางธุรกิจ D HOUSE GROUP บนที่ดิน 35,000 ไร่ รองรับ AEC มีประมาณ 8 ส่วน ทั้งสนามบิน นิคมอุตสาหกรรม ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ประชารัฐภาคเอกชน ไทยเพิ่มสุข . และกำบังศึกษาวิจัยอีกหลายรูปแบบ ศูนย์การค้า โรงพยาบาล สถานศึกษาและศูนย์นวัตกรรม อาคารสำนักงาน ที่อยู่อาศัย สนามกอล์ฟ และสนามกีฬาทุกอย่าง https:/ พากษ์ภาษาไทย ยักษ์จริงๆ นะ

ความคิดเห็น