นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค

นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด ,บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด โดย ดร.สมัย เหมมั่น ประธานกรรมการบริหาร โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภทคอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 1,680 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี เนื้อที่โครงการ 32 ไร่ (โครงการทะเลเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 2,520,000,000. บาท 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1,680 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ เนื้อที่โครงการ 60 ไร่ (มายโอโซนเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 2,520,000,000. บาท 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 1,680 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เนื้อที่โครงการ 60 ไร่ (มายโอโซนเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 2,520,000,000. บาท 4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 1,680 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรีเนื้อที่โครงการ 130 ไร่ (มายโอโซนเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 2,520,000,000. บาท 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1,680 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรีเนื้อที่โครงการ 30 ไร่ (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 3,320,000,000. บาท 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 1,680 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรีเนื้อที่โครงการ 80 ไร่ (มายโอโซนเพิ่มสุข) ประมาณการโครงการ 2,520,000,000. บาท 7.จังหวัด นครปฐม บ้านเดียวและคอนโดมิเนียม จำนวน 1,680 หน่วย อ.สามพราน จ.นครปฐม เนื้อที่โครงการ 98 ไร่ (พุทธมณฑลสาย 4) ประมาณการโครงการ 5,520,000,000. บาท รวมงบประมาณ ทั้งสิ้น 21,440,000,000. บาท ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ คณะบริหารโครงการ ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้ 1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน 2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์ 3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์ 4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด... “วิสัยทัศน์” มุ่งมั่นให้บริการอย่างมืออาชีพ ด้วยพนักงานคุณภาพ ผลงานมาตรฐาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ยากไร้อย่างจิตอาสา ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า เสร็จตามเป้าหมาย ใช้เทคโนโลยีทันสมัยและก้าวหน้า มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง พันธกิจ “สร้างเพื่อความแข็งแกร่ง เรามุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็นสถาบันก่อสร้างที่แข็งแกร่ง” “สร้างเพื่อพันธมิตรทางธุรกิจ เรามุ่งมั่นเพื่อเป็นผู้รับเหมาหลัก ที่ผู้รับเหมารายย่อยและคู่ค้าเลือกด้วยความเชื่อมั่น และไว้วางใจยินดีพร้อมก้าวหน้าไปด้วยกัน” “สร้างงาน เรามุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นประสิทธิภาพ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้พร้อมนำศักยภาพที่ดีที่สุดของตนเองมาใช้” “สร้างเพื่อสังคม เรามุ่งมั่นมอบผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุดให้กับผู้ถือหุ้นด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินธุรกิจ และสร้างสรรค์สังคมการเติบโตอย่างยั่งยืน” “สร้างเพื่อชุมชนและสังคม เรามุ่งมั่นเพื่อสนับสนุน และเสริมสร้างสิ่งที่ดีสู่ชุมชน และสังคมและความเท่าเทียมของสังคม ให้ได้รับการบริการที่ดี” หลักการและเหตุผลของโครงการ เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และการกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ สนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้ 1.ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบด้วย 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำ 1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก แบ่งเป็น 2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจแบบยังชีพ (Subsistence Economy) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน 2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลกรวมทั้งไทยในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยกิจกรรมของมนุษย์ ความขาดแคลนทรัพยากรและปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร) ที่เกิดขึ้นในสังคมทำให้แต่ละสังคมต้องหาวิธีการแก้ไขเศรษฐศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหนทางในการจัดสรรทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ) ที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เศรษฐศาสตร์ (Economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรอันมีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆในการสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งมีไม่จำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คริสต์ศตวรรษที่ 18 การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นแบบแผนได้เริ่มขึ้น โดยผู้วางรากฐานและได้รับการยกย่องว่าเป็น ”บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์” คือ อดัม สมิท นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยหนังสือชื่อ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ที่เขียนขึ้นในปี ค.ศ.1776 (พ.ศ.2319) ถือเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกและยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมาจนถึงยุคปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรือระดับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหน่วยงานการผลิตแต่ละกลุ่มหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือ เฉพาะบุคคล หรือหน่วยงานการผลิต ซึ่งแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับส่วนย่อย ๆของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ และ หน่วยรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มหาภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของทั้งระบบโดยรวม ได้แก่ รายได้ประชาติ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การออม การลงทุน การจ้างงาน และการบริโภค รวมถึงการคลัง การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์มหาภาค มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับรายได้และการจ้างงาน ในอดีตจึงเรียกว่า ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน สรุป เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์มหาภาค ที่ศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจระดับประเทศและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ของเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และ การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่างๆ สรุปได้ดังนี้

ความคิดเห็น

  1. บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด ,บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด
    โดย ดร.สมัย เหมมั่น ประธานกรรมการบริหาร


    คณะบริหารโครงการ

    ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
    นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
    นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
    นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
    สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
    D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
    บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
    บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
    บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
    บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
    และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
    1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
    2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
    3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
    4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...


    ตอบลบ
  2. ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
    นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
    นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
    นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
    สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
    D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
    บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
    บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
    บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
    บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
    และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
    1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
    2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
    3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
    4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น