วิธีการ การบริหารงานพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ 27 มิถุนายน 2024 การบริหารจัดการทางการพยาบาล ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ

วิธีการ การบริหารงานพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ 27 มิถุนายน 2024 การบริหารจัดการทางการพยาบาล ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้อำนวยการฝ่ายมาตรฐานและวิชาการ กองการพยาบาล ไทยเพิ่มสุข การบริหารงานฝ่ายการพยาบาล เป็นงานใหญ่ที่พยาบาล ผู้บริหารซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ และสถานีบริการย่อย แต่ละสถาบันจะต้องรับผิดชอบโดยสายงาน การบริหารโรงพยาบาล ฝ่ายการพยาบาลมีฐานะเทียบเท่ากับฝ่ายอื่นๆ ฝ่ายการพยาบาล อาทิ ฝ่ายอายุรกรรมและการแพทย์ ฝ่ายกิจกรรมและสันทนาการ ฝ่ายอำนวยการและการบริการ และฝ่ายนิติกรรม เป็นต้น ซึ่งการบริหารจัดการของแต่ละฝ่ายย่อมเป็นไปตามลักษณะโครงสร้างของฝ่ายนั้น โดยจะต้องครอบคลุมงานทางด้านบริหาร บริการ และวิชาการ ซึ่งมุ่งเน้นหน้าที่ความรับผิดชอบ ทั้งในฝาย และประสานความร่วมมือกับฝ่ายอื่นในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ที่เกี่ยวข้องในสถาบันด้วย ธรรมชาติของงานบริการพยาบาล (Nature of Nursing Services) งานบริการพยาบาลเป็นงานต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ที่พยาบาลจะต้องมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการดูแล ให้การพยาบาลผู้ป่วยพักฟื้น ให้การยาบาลตามการรักษา และอื่นๆ ในการบริหารงานห้องผุ้ป่วยพักฟื้น หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน และหน่วยงานตรวจพิเศษ กล่าวโดยทั่วไป ธรรมชาติของงานพยาบาลนั้น ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ เป็นงานลักษณะของการเป็นแม่ เป็นพี่เลี้ยงดูแลเด็ก หรือการเป็นแม่บ้าน ซึ่งจะต้องดูแลสมาชิกในครอบครัว ฉะนั้น การพยาบาลในแง่มุมนี้ จะสามารถถ่ายทอดความรู้ และการปฏิบัติให้แก่ผู้ป่วย ญาติ และประชาชนได้ เพื่อตอบสนองนโยบาย และการพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ที่มุ่งเน้นการสาธารณสุขมูลฐาน โดยให้การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชน ให้สามารถดูแลตนเองได้ ทางด้านพฤติกรรมอนามัย และการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีคุณภาพขีวิต (Self-Care on Health Matters and Social Activities to Obtain a Better Quality of Life) ประเด็นที่กล่าวมาข้างต้น เป็นงานทางด้านบริการที่พยาบาล และผู้บริหารการพยาบาล ถือเป็นหัวใจของงานวิชาชีพ (Heart of Nursing Profession) ที่จะต้องมีงานบริหารการพยาบาล และวิชาการพยาบาลมาประกอบให้การบริหารจัดการวิชาชีพพยาบาล ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ สนองตอบต่อนโยบายของสถาบัน และประเทศ รวมทั้งสนองความต้องการของประชาชน และผู้รับบริการด้วยกันในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ การบริหารจัดการวิชาชีพพยาบาล (Nursing Management) ดังได้กล่าวว่า การบริหารจัดการวิชาชีพพยาบาล ครอบคลุมงาน 3 ด้าน ได้แก่ -งานด้านบริหารการพยาบาล -งานด้านการให้บริการพยาบาล -งานด้านวิชาการพยาบาลคือการ ฝึกอบรมสองเจ้าหน้าที่ทุกสายงานให้ดูแลผู้สูงวัยที่เป็น สมาชิกได้เป็นอย่างดีในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ 1. งานด้านบริหารการพยาบาล เมื่อกล่าวถึงงานด้านบริหาร หลายท่านอาจจะโต้แย้งว่า ตนมิใช่ผู้บริหาร ไม่จำเป็นจะต้องเรียน ต้องรู้งานในด้านนี้ แต่หาเป็นเช่นนั้นไม่ ควรทำความเข้าใจในประเด็นนนี้เป็นเบื้องต้น ก่อนที่จะนำไปสู่งานด้านการให้บริการพยาบาล ซึ่งจะต่องเนื่อง และมีกระบวนการนำไปสู่จุด หรือเป้าหมายของการให้บริการพยาบาลด้วย งานด้านบริหารจัดการทางการพยาบาล สามารถแบ่งแยกออกได้หลายระดับ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ -การบริหารการพยาบาลระดับสูง ได้แก่ การบริหารการพยาบาลระดับวิชาชีพ ระดับฝ่ายการพยาบาล ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศต้องมีให้บรรจุไว้ในการบริการ -การบริหารการพยาบาลระดับกลาง ได้แก่ การบริหารการพยาบาลระดับหัวหน้าตึก หัวหน้าหน่วยงาน ผู้ชำนาญการพยาบาลแต่ละแผนก และผู้ตรวจการพยาบาล ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ต้องปรับบรรจุพนักงานที่มีความรู้เหมาะสมกับต่ำแหน่งนั้นๆ -การบริหารการพยาบาลระดับพื้นฐาน หรือระดับต้น ได้แก่ การบริหารการพยาบาลระดับพยาบาลประจำการ และการบริหารการพยาบาลเป็นทีม ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ นั้นต้องทำงานเป็นทีม และเข้าใจในระบบสมาทโฟน ที่รองรับการให้บริการ เป็น เมือง สมาทซิตี้ และรายละเอียดและเนื้อหาในด้านการบริหารการพยาบาล จะไม่ขอนำมากล่าวในที่นี้ หากแต่จะกล่าวถึงหลักการ และความเชื่อมโยงไปสู่งานด้านการให้บริการพยาบาล และงานด้านวิชาการพยาบาลในอันดับต่อไป 2. งานเดานการให้บริการพยาบาล เป็นงานที่ต้องนำความรู้ในการให้การพยาบาล (Nursing Care) มาใช้กับผู้ป่วยผู้พักฟื้นนั้นและผู้รับบริการ ฉะนั้น งานด้านนี้ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ นอกจากจะต้องอาศัยความรู้ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และศิลปะ ที่เกี่ยวข้องกับการให้การพยาบาลแล้ว ยังจะต้องฝึกให้เกิดทักษะ เพื่อให้มีความชำนาญในการให้การพยาบาลอย่างคล่องแคล่ว ว่องไว แก้ปัญหาความเจ็บป่วยได้ทันต่อเหตุการณ์ และประการสำคัญ คือ ช่วยชีวิตผู้ป่วยไว้ได้ทันท่วงที เนื่องจากพยาบาลจะเป็นผู้ตัดสินใจประสานงานกับแพทย์ ในด้านการรักษา ประกอบกับพยาบาลเป็นผู้รู้อาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ดังนั้น ชีวิตผู้ป่วยมีส่วนที่แขวนไว้กับพยาบาลผู้ดูแลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ และนำส่งผู้ป่วยต่อสถานพยาบาลต่อไป อาจกล่าวได้ว่า พยาบาลที่มีความรู้ มีความฉับไวในการตัดสินใจ และปฏิบัติการพยาบาลที่มีทัศนคติที่ดี และมีน้ำใจเมตตาต่อปัญหาผู้ป่วยเจ็บ ย่อมจะเป็นผู้ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้มาก อัตราการตายจากปัญหาความป่วยไข้ และอุบัติเหตุจะลดลงด้วย ความรู้ ทักษะ และทัศนคติของพยาบาลผู้ให้การพยาบาลผู้ป่วย มีความสำคัญยิ่ง การบริหารความรู้เพื่อแก้ปัญหาให้ผู้ป่วย และสนองความต้องการของผู้รับบริการ และการบริหารงานในทีมการพยาบาล เป็นการแสดงศักยภาพ และความสามารถของพยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งจะเชื่อมโยงไปยังประสิทธิผลของวานการรักษาพยาบาลได้ 3. งานด้านวิชาการพยาบาล ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ นั้นงานด้านวิชาการพยาบาลเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องการบริหารจัดการวิชาชีพพยาบาล หาพยาบาลมิได้รับการพัฒนาความรู้ เพิ่มเติมวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ หรืออาจกล่าวได้ว่า การหยุดอยู่กับที่นั้น เป็นการถอยหลัง เนื่องจากผู้อื่นทิ้งช่องห่างออกไปทุกที ดังนั้น งานด้านวิชาการพยาาลจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ สำหรับผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับ ดังกล่าวแล้ว การจัดฝึกอบรมการสัมมนาวิชาการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ การทดลองงานด้วยหลักการและเทคโนโลยีใหม่ รวมทั้งการทำวิจัย วิชาการพยาบาลเหล่านี้ จะเปรียบเสมือนแสงสว่างนำทางให้กับงานด้านบริหารการพยาบาล และทำให้พยาบาลผู้ปฏิบัติมองเห็นช่องทาง นำไปสู่งานด้านการให้การพยาบาล พยาบาลกับการดำเนินงานทางการพยาบาล การปฏิบัติงานตามเหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลทุกระดับ ตั้งแต่พยาบาลผู้ทำหน้าที่บริหารระดับสูง ระดับกลาง และระดับต้น จะมีขอบเขตการดำเนินงาน ทั้งทางด้านบริหารการพยาบาล ด้านการให้การพยาบาล และงานด้านวิชาการพยาบาลมากน้อยแตกต่างกัน ตามระดับการบริหารการพยาบาล ดังนี้ คือ ผู้ให้การพยาบาลระดับฝ่ายในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ทุกระดับ นอกจากจะทำหน้าที่บริหารการพยาบาลเป็นหน้าที่หลักแลัว ยังจะต้องทำหน้าที่ให้การพยาบาล ซึ่งอาจกระทำโดยทางอ้อม หรือโดยการสนับสนุนผู้ร่วมาน และพยาบาลประจำการ รวมทั้งงานด้านวิชาการพยาบาลที่ผู้บริหารการพยาบาล จะมองข้ามเสียมิได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารการพยาบาลระดับฝ่ายการพยาบาลจะมีความรับผิดชอบงานทั้ง 3 ด้าน ในอัตราส่วนแตกต่างกัน ดังนี้ 1.1 งานด้านบริหารการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้ทำหน้าที่หัวหน้าฝ่าย รอง หรือผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล จะรับผิดชอบงานด้านนี้ร้อยละ 60 ของงานทั้งสิ้นใน 3 ด้านร่วมกัน 1.2 งานด้านให้การพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้บริหารงานระดับฝ่ายการพยาบาล จะทำหน้าที่รับผิดชอบงานด้านนี้ โดยตรง ร้อยละ 20 โดยประมาณ และจะให้การสนับสนุนแก่ผู้ร่วมงานโดยทางอ้อม อย่างน้อยร้อยละ 80 ของงานด้านการให้การยพยาบาลทั้งหมด 1.3 งานด้านวิชากการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้บริหารงานระดับฝ่ายการพยาบาล จะต้องรับผิดชอบงานด้านนี้โดยตรง ร้อยละ 20 และในเวลเดียวกัน จะต้องให้การสนับสนุนแก่ผู้ร่วมงานโดยทางอ้อม อย่างน้อยร้อยละ 80 ของงานด้านวิชาการพยาบาลทั้งหมด 2.ผู้บริหารการพยาบาลระดับกลางในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ซึ่งทำหน้าที่บริหารงานในหอผู้ป่วย หรือในหน่วยงานรวม ตลอดทั้งผู้ชำนาญการพยาบาล และผู้ตรวจการพยาบาล จะรับผิดชอบงานทั้ง 3 ด้าน ในอัตราส่วนดังต่อไปนี้ 2.1 งานด้านบริหารการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้บริหารระดับนี้ จะรับผิดชอบโดยตรงร้อยละ 50 ของงานทั้งสามด้านรวมกัน 2.2 งานให้การพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้บริหารระดับกลาง จะต้องรับผิดชอบงานด้านนี้ร้อยละ 50 ของงานให้การพยาบาลทั้งหมด 2.3 งานด้านวิชาการในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ผู้บริหารระดับนี้ จะต้องรับผิดชอบงานด้านนี้ ร้อยละ 50 ของงานด้านวิชาการทั้งหมด ผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น พยาบาลประจำ และผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับ จะต้องรับผิดชอบงานในการให้การพยาบาลเช่นเดียวกัน จะแตกต่างกันที่ความมากน้อย ในการบริหารการพยาบาลผู้ปวย ตามกระบวนการพยาบาล และการบริหารงานในทีมการพยาบาล และการบริหารงานในทีมการพยาบาล พยาบาลประจำการผู้ปฏิบัติการพยาบาลอย่างใกล้ชิดกับผู้ป่วย และผู้รับบริการจะรับผิดชอบในการบริหารกระบวนการพยาบาล และบริหารทีมการพยาบาลเต็มเวลา ขณะรับผิดชอบงานในหน้าที่ ฉะนั้น การบริหารงานระดับต้นนี้ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของการให้การพยาบาล และความพึงพอใจของผู้รับบริการ รวมทั้งส่งผลกระทบไปยังการบริหารการพยาบาลระดับกลาง และระดับสูง ตลอดจนงานด้านวิชาการพยาบาลด้วย พยาบาลกับงานด้านบริหารการพยาบาล ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ เมื่อกล่าวถึงการบริหารในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ จะทำให้นึกไปถึงการบริหาร "งาน" ในความรับผิดชอบ และบริหาร "คน" ที่ร่วมงานในหน่วยงานนั้น เทคนิคการบริหารงาน และบริหารคน จะต้องอาศัยทฤษฎี และหลักการบริหาร มาเป็นแนวคิดในการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน และประสิทธิผลของงาน โดยคำนึงถึงความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของผู้ร่วมงานเป็นประการสำคัญ มีท่านผู้รู้ และผู้มีประสบการณ์ทางการบริหารหลายท่านกล่าวไว้ว่า ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จในการบริหารงาน คือ ได้ทั้ง ผลงาน และความรัก จากผู้ร่วมงานนั้น จะต้องเก่งใน 3 เรื่อง ได้แก่ เก่งงาน เก่งคน และเก่งสังคม มีความรู้รอบตัว เข้ากับผู้อื่นได้ทุกระดับ ซึ่งถ้าพิจารณาจากความเก่งทั้ง 3 เรื่องดังกล่าวแล้ว ทุกคนคงจะยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าจริง เพราะเก่งงาน ก็ะมีผลต่อการเพิ่มผลผลิต และประสิทธิภาพของงาน เก่งคน ก็จะสามารถปกครองผู้ร่วมงานให้ปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างเต็มความรู้ ความสามารถ และมีความรักใคร่ต่อกันในการทำงานในหน่วยงาน ประการสุดท้าย เก่งสังคม มีความรู้รอบตัว ผู้บริหารที่เข้ากับคนอื่น หน่วยงานอื่นได้ดี รู้วิธีเข้าถึงผู้้รับบริการ ผู้แวดล้อมตัว และแวดวงของหน่วยงาน ย่อมจะสามารถนำหน่วยงานไปสู่การยอมรับ และเป็นที่รู้จักของสังคม ผู้รับบริการ และประชาชนที่เกี่ยวข้อง การเก่งสังคมของผู้บริหาร จะเป็นการกรุยทาง นำหน่วยงานไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้โดย ได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่น และองค์กรที่รองรับ รวมทั้งหน่วยงานระดับสูงขึ้นไป ตามทฤษฎีการบริหารงานทั่วไป ซึ่งแมคเกรเกอร์ (MC. Gregor, 1965) ได้เน้นให้มีการใช้ทฤษฎีเอ็กซ์ (X-theory) และทฤษฎีวาย (Y-theory) ในระดับที่พอเหมาะพอควร ให้เป็นไปตามความต้องการของงาน และคนในหน่วยงานนั้น ทฤษฎีเอ็กซ์ จะมุ่งเน้นเฉพาะให้ได้ผลของงานเพียงอย่างเดียว โดยไม่คำนึงถึงจิตใจ สวัสดิการ และความเป็นอยู่ ความสะดวก ในการทำงาน ส่วนทฤษฎีวาย จะมุ่งแต่ด้านจิตใจของผู้ทำงาน โดยให้สวัสดิการ ให้ผลประโยชน์ ให้ความสะดวกสบาย แก่คนผู้ปฏิบัติงาน โดยมิได้มุ่งเน้นผลงานที่จะได้รับ ซึ่งถ้าผู้บริหารยึดหลักทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง ในการดำเนินงานบริหารหน่วยงาน ผลจากการบริหารงานก็คงไม่ได้ครบถ้วนนด้านผลงาน และความพอใจในการทำงาน ดังนั้น หากผสมผสานกันทั้งสองทฤษฎี โดยมีการผ่อนหนักผ่อนเบาในทางโอกาส ไม่เข้มงวดจนเกินไป ผลลัพธ์จากการดำเนินงานบริหารเช่นนี้ ย่อมจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของงานอย่างแน่นอน พยาบาลกับงานด้านการให้การพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ขั้นตอนการบริหารงานระดับต้นในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ในการให้การพยาบาลผู้ป่วยเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการบริหารกระบวนการพยาบาล (Nursing process) ซึ่งเป็นที่ทราบอย่างดีแล้ว ในขั้นตอนการบริหารกระบวนการพยาบาล ดังนี้คือ ขั้นรวบรวมข้อมูลประเมินรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วย ปัญหา ความต้องการของผู้ป่วย และผู้รับบริการ (Assesping) เพื่อให้ได้ข้อมูลทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และกำหนดตามความต้องการของผู้ป่วย และปัญหาก่อนหลัง ขั้นตอนการนำข้อมูล ปัญหา และความต้องการของผู้ป่วย และ หรือ ผู้รับบริการไปวางแผนการดำเนินงานให้การพยาบาลผู้ป่วย (Planning) ซึ่งจะครอบคลุมทั้งทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ (Promotion of health) การป้องกันโรค (Prevention of disease)การดูแลให้การพยาบาลผู้ป่วย (Nursing care) และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยให้กลับสู่สภาพเดิมโดยเร็วที่สุด แผนการพยาบาลนี้ อาจระบุไว้ในคาร์ดเด็กซ์ (Kardex) โดยบ่งบอกความสำคัญก่อนหลังของการให้การพยาบาลตามปัญหา และความต้องการของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ การนำแผนไปปฏิบัติ (Implementing) ณ ขั้นตอนนี้ พยาบาลจะได้ใช้ความรู้ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ในการปฏิบัติต่อผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ การตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว และใช้หลักความรู้ เป็นสิ่งที่ต้องการมากในขั้นตอนนี้ ทั้งนี้ พยาบาลผุ้ปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ที่ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ จะได้รับเป็นประการสำคัญ ขั้นตอนการประเมินผลให้การพยาบาล (Evaluating) การพยาบาลที่ให้แก่ผู้ป่วยและผู้รับบริการ จะได้รับการประเมินผลลัพธ์ และผลที่ตามมา ดังนั้น เมือให้การพยาบาลแต่ละครั้ง ควรบันทึกผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาลในการ์ดเด็กซ์ และแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาล เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้รับมอบงานในเวรต่อไป และเพื่อเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการได้รับการพยาบาลชนิดใดบ้าง เมื่อใด อย่างไร และผลที่ได้รับเป็นอย่างไร ทั้งนี้ แพทย์ผู้ทำหน้าที่รักษา จะสามารถศึกษาข้อมูลรายละเอียดเหล่านี้ได้ จากแบบบันทึกและแผนการพยาบาลประจำผู้ป่วยแต่ละราย ดังนั้น งานด้านการให้การพยาบาลผู้ป่วยผู้พักฟื้นในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ จึงนับได้ว่ามีความสำคัญมากต่อการริหารจัดการทางการพยาบาล ผู้รับบริการ และผู้ป่วยพักฟื้น จะประทับใจต่อวิธีการให้การพยาบาล ของพยาบาลประจำการเป็นประการแรก ความพอใจ หรือไม่พอใจของผู้รับบริการ และผู้ป่วยจะมีผลกระทบโดยตรงมาจากวิธีการให้การพยาบาล ในแต่ละขั้นตอนของการบริหารกระบวนการพยาบาล งานด้านบริหารการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ในเรื่อง การจัดห้องผู้ป่วย การตระเตรียมเอกสาร การตระเตรียมคนของเครื่องใช้ และความสะดวกในการปฏิบัติการพยาบาล เป็นเพียงส่วนประกอบที่จะสนับสนุนให้การปฏิบัติการพยาบาล ดำเนินไปอย่างคล่องตัว และรวดเร็ว พร้อมทั้งลดปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานเท่านั้น ความสำคัญของการบริหารจัดการทางการพยาบาล จะขึ้นอยู่กับการบริหารกระบวนการพยาบาล ซึ่งเป็นบริการที่ให้ดดยตรงต่อผู้รับบริการและผู้ป่วย และเป็นหัวใจของบริหารจัดการทางการพยาบาล ที่พยาบาลส่วนใหญ่ไม่คำนึงถึงมากนัก พยาบาลกับงานด้านวิชาการพยาบาล วิชาการทางการพยาบาลมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะเป็นข้อมูลสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการทางการพยาบาล ความรู้จากวิทยาการก้าวหน้า เทคโนโลยีใหม่ๆ รวมตลอดถึงความรู้ และความจริงจากผลงานการวิจัย จะช่วยแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงงานบริหารการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ให้ดำเนินไปตามนโยบายของแผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติแบบอย่างของภาครัฐเช่นกัน และเป็นไปตามความต้องการของประชาชนและสมาชิกที่ได้มาตราฐาน ในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ รวมทั้งสามารถแก้ปัญหาในการบริหารจัดการได้อย่างเหมาะสม ทันต่อเหตุการณ์ กล่าวกันว่า ถ้าหน่วยงานใด ผู้บริหารงานเห็นคนเก่งเป็นนักวิชาการ มีควารู้แตกฉายในงานสาขาที่รับผิดชอบ รวมทั้งความรู้ทางด้านการบริหารงานทั่วไป มักจะเชื่อถือและยอมรับกันว่า บริหารคนนั้น จะพัฒนาความก้าวหน้าทั้งทางด้านผลผลิต และประสิทธิภาพของงานได้อย่างมาก ผู้บริหารที่เก่งงาน ย่อมต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ทางด้านวิชาการมาประกอบการดำเนินงานด้านการบริหาร และแก้ปญหาการปฏิบัติงาน อย่างมีเหตุ มีผล มีหลักฐานอ้างอิง ด้วยเหตุนี้ การบริหารจัดการทางการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ ย่อมจะขาดการวางแผนดำเนินงานพัฒนาวิชาการ และพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในหน่วยงานไม่ได้ การจัดประชุมวิชาการเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง การจัดประชุมปฏิบัติการ การสนับสนุนให้ผู้ร่วมงานเข้ารับการฝึกอบรมศึกษาต่อ หรือดูงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาปรับปรุงงาน ตลอดจนการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ร่วมงานมีความรู้ ความสามารถในการทำวิจัยได้ เป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการสร้างงานวิชาการในหน่วยงาน รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของความรู้ และหลักวิชาการดำเนินงาน โดยสามารถประเมินผลงาน หรือศึกษาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และนำผลการศึกษาหาความรู้นั้นมาใช้ให้เกิดผลดีในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ สรุป การบริหารจัดการ ทางานพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ จากแนวคิดในเรื่องการบริหารจัดการ ทางการ พยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ สามารถสรุปประเด็นให้เป็นหลักปฏิบัติแก่ผู้บริหารการพยาบาล และพยาบาลประจำการได้ว่า หัวใจของการบริหารจัดการทางการพยาบาล มุ่งความสำคัญในการบริหารกระบวนการพยาบาล (management of Nursing Process) ซึ่งนับว่า เป็นรากฐานนำไปสู่การบริหารการพยาบาลทุกระดับอย่างมีคุณภาพมากที่สุด ในการบริการ ฉะนั้น หากพยาบาลทุกคนสามารถบริหารกระบวนการพยาบาลอย่างมีคุณภาพ และมีประสิทธิผล ย่อมจะส่งผลให้เห็นเเด่นชัดว่า การบริหารจัดการทางการพยาบาลของการบริหารจัดการทางานพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ หรือสถาบันนั้นที่จะต้องมีในอนาคตนั้น ได้รับการยอมรับยกย่องจากผู้รับบริการ หรือผู้ป่วยพักฟื้น ซึ่งหากมีแกนการดำเนินงานในด้านพัฒนากระบวนการพยาบาลอย่างมีแบบแผน มีรูปแบบที่ชัดเจน และทุกคนต้อยึดถือปฏิบัติ ย่อมจะเชื่อมโยงไปยังคววามต้องการความรู้ในด้านการบริหารการพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ และความต้องการในด้านการพัฒนาตนเอง ให้สามารถนำความรู้ด้านวิชาการพยาบาลมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการให้การพยาบาล แก่ผู้ป่วยและผู้มารับบริการ เมื่อดำเนินมาถึงจุดนี้ การบริหารจัดการทางการพยาบาลจะบรรลุเป้าหมายและได้ผลดีอย่างคาดไม่ถึง หากแต่ปัญหามีอยู่ว่า พยาบาล ผู้บริหารให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากขึ้นและต่อยอดธุรกิจการพัฒนาโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศให้เข็มแข็งให้มากขึ้นต่อไปและต่อไป ครับ โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภทคอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข) 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข) 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข) 4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข) 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย ประธานโครงการ

ความคิดเห็น

  1. วิธีการ การบริหารงานพยาบาลในซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ไทยเพิ่มสุข ทั่วประเทศ
    27 มิถุนายน 2024


    (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
    โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภทคอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย
    ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
    ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน
    ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม
    ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ
    ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน
    บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
    แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
    ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้
    1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข)
    2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข)
    3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข)
    4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข)
    5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข)
    6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข)
    ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
    ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
    ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
    ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
    ดร.สมัย
    ประธานโครงการ


    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น