โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข
เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภทคอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย
ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม
ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ
ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น
ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้
1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข)
2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข)
3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข)
4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข)
5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข)
6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข)
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.สมัย เหมมั่น
ประธานโครงการ
คณะบริหารโครงการ
ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
บริษัท ร ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...
“วิสัยทัศน์”
มุ่งมั่นให้บริการอย่างมืออาชีพ
ด้วยพนักงานคุณภาพ ผลงานมาตรฐาน
เพื่อให้บริการแก่ผู้ยากไร้อย่างจิตอาสา
ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า เสร็จตามเป้าหมาย
ใช้เทคโนโลยีทันสมัยและก้าวหน้า
มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
พันธกิจ
“สร้างเพื่อความแข็งแกร่ง เรามุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็นสถาบันก่อสร้างที่แข็งแกร่ง”
“สร้างเพื่อพันธมิตรทางธุรกิจ เรามุ่งมั่นเพื่อเป็นผู้รับเหมาหลัก ที่ผู้รับเหมารายย่อยและคู่ค้าเลือกด้วยความเชื่อมั่น และไว้วางใจยินดีพร้อมก้าวหน้าไปด้วยกัน”
“สร้างงาน เรามุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นประสิทธิภาพ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้พร้อมนำศักยภาพที่ดีที่สุดของตนเองมาใช้”
“สร้างเพื่อสังคม เรามุ่งมั่นมอบผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุดให้กับผู้ถือหุ้นด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินธุรกิจ และสร้างสรรค์สังคมการเติบโตอย่างยั่งยืน”
“สร้างเพื่อชุมชนและสังคม เรามุ่งมั่นเพื่อสนับสนุน และเสริมสร้างสิ่งที่ดีสู่ชุมชน และสังคมและความเท่าเทียมของสังคม ให้ได้รับการบริการที่ดี”
หลักการและเหตุผลของโครงการ
เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และการกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ สนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้
1.ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบด้วย
1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์
2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก แบ่งเป็น
2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจแบบยังชีพ (Subsistence Economy) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน
2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลกรวมทั้งไทยในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยกิจกรรมของมนุษย์ ความขาดแคลนทรัพยากรและปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร) ที่เกิดขึ้นในสังคมทำให้แต่ละสังคมต้องหาวิธีการแก้ไขเศรษฐศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหนทางในการจัดสรรทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ) ที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เศรษฐศาสตร์ (Economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรอันมีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆในการสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งมีไม่จำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คริสต์ศตวรรษที่ 18 การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นแบบแผนได้เริ่มขึ้น โดยผู้วางรากฐานและได้รับการยกย่องว่าเป็น ”บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์” คือ อดัม สมิท นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยหนังสือชื่อ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ที่เขียนขึ้นในปี ค.ศ.1776 (พ.ศ.2319) ถือเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกและยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมาจนถึงยุคปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรือระดับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหน่วยงานการผลิตแต่ละกลุ่มหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือ เฉพาะบุคคล หรือหน่วยงานการผลิต ซึ่งแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับส่วนย่อย ๆของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ และ หน่วยรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มหาภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของทั้งระบบโดยรวม ได้แก่ รายได้ประชาติ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การออม การลงทุน การจ้างงาน และการบริโภค รวมถึงการคลัง การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์มหาภาค มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับรายได้และการจ้างงาน ในอดีตจึงเรียกว่า ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน
สรุป เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์มหาภาค ที่ศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจระดับประเทศและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ของเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และ การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่างๆ สรุปได้ดังนี้
1. ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย
1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำมีความอุดมสมบูรณ์จะเหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน การคมนาคมขนส่งสะดวก แต่ไม่ปลอดภัยจากการรุกราน แต่ที่ราบสูง ภูเขา จะ แห้งแล้ง การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก ไม่เหมาะกับการตั้งถิ่นฐาน แต่ปลอดภัยจากการรุกราน บริเวณที่ติดทะเลก็จะมีการประกอบอาชีพเกี่ยวกับทะเล เป็นต้น
1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค รวมทั้งการประกอบกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ในเขตต่างๆ ของโลก เช่น เขตร้อนส่วนใหญ่ปลูกข้าวเจ้า ใส่เสื้อผ้าบาง มีฝนตกชุก ซึ่งมักจะปลูกอาคารบ้านเรือนมีหลังคาชันเพื่อใต้ถุนสูง เพื่อให้น้ำฝนไหลสะดวกและไม่ขังบริเวณใต้ถุนบ้าน สำหรับกิจกรรมของประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยลักษณะลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศเข้าช่วย เช่น การทำนาข้าว ส่วนมากจะทำในฤดูฝน ส่วนการทำนาเกลือ การก่อสร้าง การทาสี ก็จะทำกันในฤดูแล้ง และลักษณะภูมิอากาศยังมีผลต่อสุขภาพและพลังงานในตัวมนุษย์หลายประการ เช่น ประชาชนในเขตร้อนจะเหนื่อยง่าย หอบเร็ว ทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรง ต่างจากประชากรในเขตหนาวหรือ เขตอบอุ่นจะมีความขยัน อดทน กระตือรือร้นมากกว่า เป็นต้น
2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆของโลก แบ่งเป็น
2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเศรษฐกิจแบบยังชีพ (Subsistence Economy) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน เช่น การเก็บหาของป่า การล่าสัตว์ การจับปลา การเพาะปลูก เพื่อการบริโภคเอง ไม่ได้ผลิตเพื่อจำหน่าย ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เป็นลักษณะของชุมชนในอดีต หรือชนบทที่ห่างไกลความเจริญ
2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลก รวมทั้งไทยในปัจจุบัน มนุษย์จะไม่ทำการผลิตสิ่งของที่ตนเองต้องการเองทุกอย่าง แต่จะแบ่งอาชีพกันทำตามความถนัด แล้วนำผลผลิตมาซื้อขายแลกเปลี่ยนกันโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อการค้า เป็นการประกอบอาชีพเพื่อส่งออกจำหน่ายไปยังภูมิภาคต่างๆของโลก โดยอาศัยระบบการคมนาคมขนส่งให้สินค้าเข้าสู่ตลาดจะนำผลประโยชน์มาสู่สังคมที่เจริญ หรือระบบสังคมที่ซับซ้อน ตลอดจนทั้งเขตชุมชนและเมืองต่างๆทุกแห่งในโลกปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข
ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์แยกการศึกษาเศรษฐศาสตร์ออกเป็น 2 สาขาใหญ่ๆ คือ
1.เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจใดหน่วยเศรษฐกิจหนึ่ง เช่น การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภครายใดรายหนึ่งว่าจะมีการตัดสินใจในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการอย่างไร จำนวนเท่าใด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความพอใจสูงสุดภายใต้ขีดจำกัดของรายได้จำนวนหนึ่ง พฤติกรรมของผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งว่าจะตัดสินใจเลือกผลิตสินค้าอะไร จำนวนเท่าใด ด้วย วิธีการอย่างไร และจะกำหนดราคาเท่าไร จึงจะได้กำไรสูงสุด ศึกษาพฤติกรรมการลงทุน การออมของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ศึกษากลไกตลาดและการใช้ระบบราคาเพื่อการจัดสรรสินค้า บริการ และทรัพยากร อื่นๆ จะเห็นได้ว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาคส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับราคาในตลาดแบบต่างๆ นักเศรษฐศาสตร์บางท่านจึงเรียกวิชาเศรษฐศาสตร์อีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีราคา (Price Theory)
2.เศรษฐศาสตร์มหาภาค (macroeconomics) เป็นการศึกษาภาวะเศรษฐกิจโดยส่วนรวม ทั้งระบบเศรษฐกิจหรือทั้งประเทศ อันได้แก่ การผลิตของระบบเศรษฐกิจ การบริโภค การออม และการลงทุนรวมของประชาชน การจ้างงาน ภาวะการเงินและการคลังของประเทศ ฯลฯ เศรษฐศาสตร์มหาภาคโดยทั่วไปจะครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น รายได้ประชาชาติ วัฏจักรเศรษฐกิจ เงินเฟ้อและระดับราคา การคลังและหนี้สาธารณะ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การเงินและสถาบันการเงิน และเศรษฐศาสตร์การพัฒนา ฯลฯ ความสัมพันธ์ของวิชาเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น การเลือกการผลิต การบริโภค การดำรงชีพ และการปฏิบัติต่อบุคคลต่างๆที่อยู่ในสังคมเดียวกันหรือต่างกัน ดังนั้นเศรษฐศาสตร์จึงเป็นวิชาหนึ่งของสังคมศาสตร์ซึ่งเป็นการศึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหมู่มนุษย์ที่มีผลมาจากการอยู่รวมกันในสังคมและมีการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งในการศึกษาและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนการจัดระเบียบวิธีที่เกี่ยวกับมนุษย์จำเป็นที่วิชาเศรษฐศาสตร์ต้องไปเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับวิชาอื่นๆในสังคมศาสตร์ เช่น การบริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ จิตวิทยา ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ และอื่น ๆ
1.เศรษฐศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นส่วนหนึ่งจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ผลิต เช่น การศึกษาทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิตและตลาด ฯลฯ จะเห็นได้ว่าแต่ละหัวข้อจะมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นกล่าวได้ว่าการบริหารธุรกิจส่วนหนึ่งเป็นการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ เพื่อให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือให้ได้รับกำไรสูงสุดและธุรกิจเจริญเติบโตก้าวหน้า
2.เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในแง่ที่ว่าแต่ละประเทศจะไม่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้หากประเทศไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง เนื่องจากนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศไม่มีความมั่นใจจึงชะลอการลงทุนทำให้เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย ในทางกลับกันหากนักลงทุนมีความมั่นใจในสถานการณ์ทางการเมือง การลงทุนจะเพิ่มขึ้น ทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าปัญหาการเมืองกับปัญหาเศรษฐกิจเป็นปัญหาควบคู่กันไม่สามารถแยกจากกันได้ กล่าวคือ จะต้องพัฒนาไปพร้อม ๆ กันประเทศจึงจะมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพ
3.เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม และส่วนหนึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้นหากนักกฎหมายมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ย่อมจะเป็นผลดีต่อการตราหรือออกใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจของประเทศ ในทำนองเดียวกัน เนื่องจากกฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์เองจำเป็นจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้วย ทั้งนี้เพื่อการใช้กฎหมายในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจจะได้เป็นไปตามที่มุ่งหวัง
4.เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งส่วนหนึ่งสามารถใช้เป็นบทเรียนหรือเป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนาและแก้ปัญหาเศรษฐกิจ อย่างน้อยที่สุดประวัติศาสตร์จะเป็นกระจกที่สะท้อนให้เห็นถึงลำดับของเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ้น ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อทุกสาขาวิชา รวมทั้งวิชาเศรษฐศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันได้มีการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของการเรียนการสอนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัย
5.เศรษฐศาสตร์กับจิตวิทยา เนื่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ดังนั้นความรู้ในด้านจิตวิทยาจึงมีส่วนสำคัญต่อการเรียนรู้ทางเศรษฐศาสตร์ เพราะต่างก็ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การจะอธิบายปรากฏการณ์บางอย่างที่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เช่น การเลือกบริโภคสินค้าของผู้ซื้อ ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาของมนุษย์ย่อมช่วยให้เข้าใจการกระทำบางอย่างของมนุษย์ได้ ในเวลาเดียวกันนักจิตวิทยาอาจนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ได้
6.เศรษฐศาสตร์กับคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษากันอยู่ในปัจจุบันคือการศึกษาเศรษฐศาสตร์เชิงปริมาณ ซึ่งเป็นวิชาที่ต้องอาศัยคณิตศาสตร์และสถิติเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจต่าง ๆ หรือเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจเหล่านั้น
คณะบริหารโครงการ
ตอบลบดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
บริษัท ร ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...
คณะบริหารโครงการ
ตอบลบดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
บริษัท ร ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...
ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
ตอบลบนาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
และคณะ บริหารร่วมบริษัท ร่วมค้า ดังนี้
1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด...
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
ตอบลบเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการนี้จัดทำเพื่อกลุ่มเป้าหมายของสมาชิกที่ชัดเจน คือเพื่อสมาชิกสหกรณ์ฯและประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นคอนโดมิเนียมแบบโลว์ไรส์ สูงไม่เกิน 8 ชั้น สถานที่ก่อสร้างตั้งโครงการอยู่ ใน 77 จังหวัด จำนวน 800 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น .8 ล้านบาท ถึง 2.5 ล้านบาท พื้นที่ ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร และบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแล อีก 20% สุทธิ การบริการนิติบุคคล ประกอบไปด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน และได้รับการสนับสนุนการประกอบกิจการในกิจการของรัฐ ตาม นโยบายของภาครัฐ ประจำปี 2558
กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้ออกหนังสือการสนับสนุน ที่ 4040/3149 และได้ทำหนังสือถึงสำนักงานการเคหะแห่งชาติ เลขที่ 4040/ 14323 เพื่อร่วมกันหาแนวทางการทำงานร่วมกันในการลงทุนในกิจการของรัฐภาคเอกชน พร้อมทั้งนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้มอบคู่มือการวิธีการให้บริการ ตามนโยบายภาครัฐที่ได้มาตาฐานในการทำงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน พร้อมรายชื่อประชาชนที่มีความต้องการจะอยู่อาศัยในโครงการของภาครัฐ ที่ลงทะเบียนไว้กับ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการทางสังคมผู้สูงอายุวาสนะเวศม์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และ สำนักงานกิจการ ที่อยู่ในการดูแลของ กรมกิจการผู้สูงอายุ ของประเทศไทย เชิญประชุมร่วมกัน ตามเอกสารแนบท้ายมานี้
ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้างและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
จึงเขียนโครงการ ซี่เนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน เพื่อลงทุนในกิจการของรัฐ ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน ปี 2558 และได้ร่วมประชุม ศึกษาหาแนวทางการลงทุนและขอสนับนุการลงทุนในกิจการของภาครัฐ 2558 ต่อ หน่วยงานของรัฐ ผ่านกรมกิจการผู้สูงวัย ผ่านท่าน อธิบดี กรมกิจการผู้สูงอายุ ในเวลานั้น และได้รับหนังสือตอบรับตลอดจน รายชื่อผู้มีความประสงที่จะอยู่อาศัยในโครงการดังกล่าว ซึงมีจำนวนมาก และได้ขอการสนับสนุนจำนวนสมาชิกที่สนใจต่อโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน ถึงสำนักงานสหกรณ์บริการต่างๆและสหกรณ์ออมทรัพย์ครู จังหวัดนครราชศรีมาและสหกรณ์ออมทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ ในพื้นที่ โครงการ เพื่อเป็นการวางแผนการอยู่อาศัย ในวัยชราที่สามารถฟื้นฟูคุณภาพชีวิตที่ดีถูกลักษณะการอยู่อาศัยที่ดี ตามนโยบายของรัฐบาล ปี 2558
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
ตอบลบเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 350- 880 unit
ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ
ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 800-1,600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณอายุ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
การจัดการโครงการมีการลงทุนการก่อสร้างมีหลักการคัดเลือกสรรหาที่ดินในการก่อสร้างดังนี้
1.การใช้พื้นที่ของรัฐบาลโดยการ ขอใช้พื้นที่ของรัฐบาลผ่าน กรม ธนารักษ์,ที่ดินราชพัสดุ,ที่ดินของหน่วยงาน กรมป่าไม้ เพื่อการเช่าระยะยาวทำโครงการ
2.การใช้พื้นที่ ของสำนักงานการเคหะแห่งชาติหรือ พื้นที่นิติบุคคล เช่น สหกรณ์บริการต่างๆหรือสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ โดยการขอจัดซื้อระหว่างหน่วยงานโดยการทำข้อตำลงต่างๆร่วมกัน
3.การใช้ที่ดิน ของเอกชนโดยการจัดซื้อที่ดินทำโครงการดังกล่าว
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 6 จังหวัด ดังนี้
1.จังหวัดราชบุรี จำนวน 880 หน่วย ตำบล หินกอง อำเภอ เมือง จังหวัด ราชบุรี (โครงการซีเนี่ยร์คอทเพล็กซ์ประชารัฐ ภาคเอกชน เมืองราชบุรี ไทยเพิ่มสุข ) บริหารงานการก่อสร้างโดย บริษัท บัลลังค์สรณ์ (1) จำกัด โดย ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการและกรรมการบริหารฯและนาง เพ็ญศิริ อมาตยกุล กรรมการบริหารบริษัทฯ มายโอโซไทยเพิ่มสุข
2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 800 หน่วย อำเภอ หล่มสัก , อำเภอ หล่มเก่า , อำเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ (ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก เพื่อสมาชิก สหกรณ์ ฯข้าราชการและประชาชนทั่วไป) ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
3.จังหวัดนครปฐม จำนวน 350 หน่วย ตำบลท่าตำหนัก อำเภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
4.จังหวัด ระนอง จำนวน 800 หน่วย ตำบล หงาว อำเภอ เมือง จังหวัด ระนอง (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด มาร่วมทุน
5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 800 หน่วย ตำบลบางแม่นาง , อำเภอ บางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี (วิลเลคโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ แก่งคอย , อำเภอ หน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข ) ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร.สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.สมัย เหมมั่น
ประธานโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน