ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ท าให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556 ธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นโดยรวม มีมูลค่าสูงถึง 8 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 2.56 ล้านล้านบาท มีการเติบโตเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลังถึง 10% รายได้ต่อปีเฉลี่ย 4.54 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 1.452 ล้านล้านบาท ก าไรเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 โดยมีผู้ให้บริการด้านนี้มากถึง 500-600 บริษัทที่หันมาจับธุรกิจสร้างบ้านพักเพื่อดูแลคนสูงวัยในช่วงบั้นปลายของชีวิตอย่างจริงจัง43 แม้จ านวน โครงการที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีจ านวนมากในประเทศญี่ปุ่น และมีบริษัทที่ท าธุรกิจโครงการที่อยู่อาศัย เกิดขึ้นใหม่ค่อนข้างเยอะ แต่จะเห็นว่ายังไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา และแนวโน้มระยะต่อจากนี้จ านวนผู้สูงอายุจะยังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และเพื่อเป็นการ ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต จึงอยากจะเสนอให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สูงอายุ ด าเนิน นโยบายการดูแลผู้สูงอายุไปในทิศทางเดียวกันทั้ง 3 ส่วน โดยเฉพาะภาครัฐและเอกชนน่าจะมีความ ร่วมมือกันจัดตั้งสถานที่ดูแลผู้สูงอายุ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ผู้สูงอายุจะต้องเสียให้ถูกลง และภาคเอกชน ช่วยด าเนินการสถานที่ให้ เพราะปัจจุบันภาครัฐจะช่วยอ านวยความสะดวกในเรื่องของการเบิกค่าใช้จ่าย บ้างส่วนในเรื่องของบ านาญเท่านั้น44 ส าหรับประเทศญี่ปุ่นซึ่งเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ได้สร้างหลักประกันให้กับคนในประเทศหลายชั้น ทั้งนายคูโรสุ และนายสมโพชน์ได้ร่วมกันให้ข้อมูลว่า รัฐบาลญี่ปุ่นใส่ใจกับสวัสดิภาพของประชาชนใน ประเทศเป็นอย่างดี โดยมีทั้งกองทุนประกันสังคม กองทุนบ านาญแห่งชาติ โดยก าหนดการจ่ายเงินสมทบ ของกองทุนบ านาญแห่งชาติตามอายุ โดยในวงเงิน 100% คนญี่ปุ่นอายุ 40-64 ปี ต้องจ่ายเงินสมทบเข้า กองทุนบ านาญประมาณร้อยละ 29 อายุ 65 ปีขึ้นไปต้องจ่าย 21% หรือประมาณ 1,347 บาท/เดือน และ อีกร้อยละ 50 รัฐบาลจะเป็นผู้จ่ายเงินสมทบ โดยเงินส่วนนี้หลังเกษียณคนญี่ปุ่นจะมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ประมาณ 30,000 บาท จากกองทุนบ านาญ และหากรวมกับกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ และประกันบ านาญที่ ซื้อไว้ด้วยอาจจะมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 100,000 บาททีเดียว นอกจากนี้ ยังมีกองทุนให้กับผู้สูงอายุที่ไม่ สามารถช่วยเหลือตัวเองได้อีกหนึ่งคือ กองทุน Long Term Care โดยบังคับให้ผู้มีรายได้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้น ไป จะต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนนี้ จะได้รับการดูแลจากภาครัฐด้วยการประเมินจากความสามารถใน การดูแลตัวเอง ก่อนส่งเข้าไปยังสถานดูแลคนชราที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ที่มีอยู่กว่า 5,000 แห่ง ทั่วประเทศ นอกเหนือจากนี้ คนญี่ปุ่นจ านวนมากยังเลือกซื้อประกันชีวิต แบบที่สามารถใช้ชีวิตยืนยาว อย่างมั่นคง และเข้าถึงระบบรักษาพยาบาลได้มากขึ้น เงินจ านวนมากที่คนญี่ปุ่นสะสมไว้หลายทาง จึงเป็น หนทางให้เกิดธุรกิจดูแลผู้สูงอายุขึ้นมา45 1) Smart Community – Senior Park Support46 โครงการ "Smart Community" เริ่มด าเนินการในเดือนกรกฎาคม 2547 โดยมีแนวคิด การสร้างโครงการ คือ การพยายามให้ประเทศญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศที่ "ผู้สูงอายุจะมีค่าครองชีพเพียง ครึ่งเดียว" และให้ผู้สูงอายุกลับมามีชีวิตชีวาและมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น ในแนวความคิด "Shape of the New 43 http://www.thairath.co.th/content/524891 44 http://thaipublica.org/wp-content/uploads/2016/04/1461658480318-620x349.jpg 45 http://www.thairath.co.th/content/524891 46 http://www.thansettakij.com/content/60361 โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 46 Life Longer" โดยที่อยู่อาศัยจะมีลักษณะแมนชั่น-คอนโดมิเนียมที่มีบริเวณขวางกว้างและมีกิจกรรมที่ เตรียมไว้ส าหรับผู้สูงอายุให้ได้ใช้บริการอย่างครบครัน 47 ภาพ Smart Community อย่างไรก็ดีผู้สูงอายุที่จะเข้ามาอาศัยอยู่ในโครงการ Smart Community จะต้องเป็น ผู้สูงอายุอายุตั้งแต่ 50 ปี แต่จะต้องเป็นผู้ที่สามารถใช้ชีวิตประจ าวันได้ด้วยตนเอง และที่ส าคัญจะต้องมี ความสามารถในการจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทั้งหมด ทั้งในส่วนของค่าแรกเข้าเป็นสมาชิกและค่าใช้จ่าย รายเดือน ที่นับว่าค่อนข้างสูงไม่ใช้น้อย แต่ผู้สูงอายุในญี่ปุ่น โดยเฉพาะผู้ที่เคยรับข้าราชการจะมีเงิน บ านาญช่วยเหลือ ซึ่งโดยเฉลี่ยต่อคนจะอยู่ที่ 1.2 แสนเยนต่อเดือน ส่วนพนักงานทั่วไปหรือนักธุรกิจจะมี เงินช่วยเหลือเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น ท าให้ผู้สูงอายุในญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะมีเงินบ านาญส่วนหนึ่งมาจ่ายเป็น ค่าใช้จ่ายในการเข้าพักอาศัย ส าหรับค่าใช้จ่ายที ่ผู้สูงอายุจะต้องเสียนั้น ประกอบด้วย ค่าสมาชิกแรกเข้าจ านวน 5 แสนเยนต่อคน หรือ 2 คน จะอยู่ที่ 7.5 แสนเยน ค่าใช้จ่ายต่อเดือนอยู่ที่ 4.28 หมื่นเยน/เดือน ค่าอาหารรวม 3 มื้อจ านวน 4.19 หมื่นเยน/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนอยู่ที่ 8.47 หมื่นเยน/เดือน กรณี อยู่ 2 คนค่าใช้จ่ายจะอยู่ที่ 1.60 แสนเยน/เดือน นอกจากนี้ยังมีค่าใช้สถานีอีกจ านวน 1.4 ล้านเยน/คน กรณี 2 คน จะอยู่ที่ 2.1 ล้านเยน ในกรณีที่ผู้สูงอายุอยู่ไม่ครบหรือกรณีเสียชีวิตหลังจากอยู่ไปแล้ว 5 ปี โครงการจะทยอย คืนเงินตามอายุการใช้งานของผู้สูงอายุรายนั้น ๆ เป็นรายกรณี ดังนั้น หากรวมค่าสมาชิกแรกเข้าและค่า ส่วนกลางในการใช้สถานที่ผู้สูงอายุจะต้องมีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นรวม 1.9 ล้านเยน ซึ่งยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม อีกร้อยละ 8 เรียกได้ว่าผู้สูงอายุจะมาแต่ตัวคงไม่ได้ อาจจะต้องมีเงินหรือมีฐานะจึงจะใช้บริการสถานที่ได้ หรือการใช้บ านาญที่ได้มาช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายได้บ้างส่วน โครงการ Smart Community มีพื้นที่ทั้งหมด 3.3 หมื่นตารางเมตร มีห้องทั้งสิ้น 800 ห้อง มีสมาชิกทั้งหมด 700 คน แบ่งเป็นผู้หญิงประมาณร้อยละ 58 และผู้ชายจ านวนร้อยละ 42 อายุโดยเฉลี่ย ประมาณ 72 ปี ซึ่งอายุต่ าสุดจะอยู่ที่ 54 ปี สูงสุด 92 ปี ซึ่งในแต่ละวันผู้สูงอายุจะเข้าร่วมโปรแกรม ประมาณ 7-8 โปรแกรม จากที่มีให้เลือกท ามากกว่า 50 โปรแกรม อาทิ คอร์สเต้นร า ฟุตบอล ตีกอล์ฟ ซ้อม ดนตรี เป็นต้น ตลอดจนมีบาร์-คาเฟ่ ร้านหมอฟันให้ผู้สูงอายุใช้บริการได้อีกด้วย โดยในแต่ละวันจะมีคน 47 http://thaipublica.org/wp-content/uploads/2016/04/1461658480318-620x349.jpg โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 47 ดูแล 24 ชั่วโมง และหากมีอาการเจ็บป่วยสามารถส่งโรงพยาบาลได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากโครงการ ได้มีความร่วมมือกับโรงพยาบาลในพื้นที่ใกล้เคียงไว้แล้ว ส าหรับโครงการ "Senior Park Support" ถือเป็นโครงการของภาคเอกชนร้อยละ 100 ซึ่งตอนนี้จ านวน 8 แห่งด้วยกัน อาทิเมืองชิบะ ไซตามะ โตเกียว อิบารากิ เป็นต้น โดยแนวทางการขยาย สาขาแต่ละแห่งจะขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของประชากรผู้สูงอายุ โดยจะขยายในเมืองรองๆ จากจังหวัดใหญ่ ทั้งนี้ หากดูจ านวนโครงการที่อยู่อาศัยผู้สูงอายุทั้งหมดปัจจุบันมีมากกว่า 5 พันแห่งทั่วประเทศ แบ่งตาม ระดับของผู้สูงอายุ โดยโครงการ "Senior Park Support" ได้รับใบอนุญาต (ไลเซ่นส์) อยู่ในระดับ 3 ที่ รองรับผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป ซึ่งร่างกายอาจจะไม่แข็งแรงมากนัก โดยสัญญาที่พักจะอยู่ที่ประมาณ 6 เดือนขึ้นไปจนตลอดอายุขัย ซึ่งจ านวนผู้สูงอายุที่เข้ามาพักประมาณร้อยละ 50 มีญาติดูแล และอีกร้อย ละ 50 จะไม่มีญาติ เพราะส่วนหนึ่งน าเงินบ านาญมาเป็นค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบันผู้สูงอายุจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายประมาณคนละ 1.5 แสนเยน/เดือน หรือประมาณ 4.5 หมื่นบาทต่อเดือน รวมค่าอาหาร ค่าน้ า ค่าไฟ โดยจะมีผู้ดูแล 24 ชั่วโมง และจะมีแพทย์เข้ามาตรวจสุขภาพ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือกรณีฉุกเฉิน สามารถเรียกแพทย์เข้ามาตรวจอาการได้ทันที ภาพ Senior Park ทั้งนี้ การคัดเลือกผู้สูงอายุว่าจะพักที่โครงการไหน จะเป็นหน้าที่ของโรงพยาบาลตาม ระดับไลเซ่นส์ที่ได้รับอนุญาต เช่น ผู้สูงอายุที่สามารถพอจะเดินไหวจะอยู่อีกที่ ส่วนกลุ่มที่ดูแลตัวเองไม่ ค่อยไหวจะอยู่ที่นี่ เป็นต้น โดยปัจจุบันอัตราการพักอาศัยของโครงการ Senior Park Support อยู่ที่ร้อย โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 48 ละ 60 ซึ่งการเพิ่มอัตราการเข้าพักจะขึ้นอยู่กับการคัดเลือกของโรงพยาบาล อย่างไรก็ดี สิ่งที่เป็นปัญหา ของโครงการที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ จะเป็นเรื่องของการขาดแคลนผู้ดูแลคนสูงอายุ เพราะว่าไม่ค่อยมีคน ที่จะเข้ามาท างานในส่วนนี้มากนัก ส่งผลให้อัตราค่าจ้างผู้ดูแลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 2) Wakatake-no-mori48 ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีประชากรสูงวัยเป็นจ านวนมากเมื่อเทียบกับสัดส่วนประชากร ทั้งหมด สูงถึงประมาณร้อยละ 23 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่มากที่สุดในโลก (ผู้สูงอายุคือ 65 ปีขึ้นไป) ประเทศญี่ปุ่น จึงมีแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับหนึ่งในนั้นคือโครงการ Wakatake no mori ตั้งอยู่ที่เขตอาโอบะ เมืองโยโก ฮาม่า เป็นบ้านพักรวมให้ผู้สูงอายุ ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ได้เช่าเพื่อพักอาศัย 49 50 โครงการนี้ออกแบบโดย Akihiro Yoshida, yoshida design workshop Co., Ltd + Yasushi Inoue, KENKO ARCHITECTS OFFICE + Hiroshi Kanemitsu, Kanemitsu Hiroshi Design Office + Yukiko Inoue, Japan College of Social Work และได้รับรางวัล Good Design Award 2015 ระดับ Golden Prize โดยในโครงการจะมี คลีนิครักษาโรค บริการท าความสะอาด บริการอาหาร บริการ home visiting care support ตลอด 24 ชั่วโมง 51 48 http://propholic.com/prop-globe/わかたけの杜-wakatake-no-mori-บ้านพักคนชราระ / 49 http://propholic.com/wp-content/uploads/2015/11/droppedImageR.jpg 50 http://propholic.com/wp-content/uploads/2015/11/15G090930_01_880x660R.jpg 51 http://propholic.com/wp-content/uploads/2015/11/Screen-Shot-2015-11-24-at-9.38.27-PM.png โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 49 52 โครงการจะแบ่งเป็น 2 ฝั่ง มีถนนและลานจอดรถคั่นแบ่งออกจากกัน ด้านตะวันตกจะ เป็นอาคาร 2 ชั้น ประกอบไปด้วยห้องพักขนาด 20 และ 40 ตรม จุดเด่นของขนาด 40 ตร.ม. คือจะมี ห้อง outdoor living กั้นผนังด้วยกระจกใสบานเปลือยอยู่ภายใน อีกฝั่งเป็น super highlight อาคาร 2 ชั้น รูปทรงสี่เหลี่ยมหลาย ๆ อาคาร เชื่อมต่อกันด้วยสะพานทางเดินถักทอ เป็นโครงข่าย มีอาคารส่วนกลางที่ เรียกว่า center house อยู่ใจกลาง สะพานเชื่อมระหว่างตัวอาคาร 52 http://propholic.com/wp-content/uploads/2015/11/Screen-Shot-2015-11-24-at-9.17.44-PM.jpg โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 50 ห้องพักขนาด 20 ตารางเมตร เป็นซองยาว ๆ แต่เบี่ยงหน้าต่างและระเบียงออกจากแนว เอาครัวไปอยู่ริมหน้าต่าง การคิดพื้นที่ของญี่ปุ่นจะไม่รวมระเบียง ห้องพักด้านนี้จะเป็นขนาด 50 ตรม เท่านั้นและเป็น 50 ตรม ที่ไม่ธรรมดา มีการ ออกแบบ landscape ที่พิถีพิถัน ราคาส าหรับคนที่ต้องการจะเข้าพักมีค่าเข้าพักรวมค่า service และ ค่าอาหารจะมีค่าใช้จ่ายโดยรวมประมาณเดือนละ 150,000 – 220,000 เยน (ประมาณ 45,000- 66,000 บาท) 3) บ้านพักคนชราอิระกะ IRAKA53 บ้านพักคนชราแห่งนี้มีชื่อว่า อิระกะ IRAKA (甍)อยู่ในโอซาก้า สามรถนั่งรถไฟใต้ดินสาย Sennichi Mae ลงสถานีชื่อ Minami Tatsumi แล้วออกประตู 3 เดินมาทางทิศตะวันตก 200 เมตรที่นี่มีสิ่ง อ านวยความสะดวกผู้สูงอายุ เตียงนอนของที่นี่จะมีความสูงไม่มากเพื่อให้ตอนนั่งเท้าวางถึงพื้น และข้างเตียง 53 http://www.marumura.com/japan-old-age-home/ โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 51 จะมีที่จับ (ส่วนที่วงกลมสีแดง) ไว้ส าหรับตอนลุกแล้วอาจเกิดอาการเวียนหัวหรือท าท่าจะล้มก็จะได้มีที่จับยัน ให้ทรงตัวได้ ในวงกลมสีส้มจะมีไว้เพื่อกรณีที่ผู้สูงอายุอยากลุกไปเข้าห้องน้ าแต่ลืมกดปุ่มเรียกคนดูแล หรือไม่คิดจะกดเรียกเพราะอยากเดินไปเอง แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อความปลอดภัยเมื่อผู้สูงอายุเดินเหยียบแผ่น ที่ว่านี้ จะมีเสียงส่งสัญญาณไปยังห้องของคนดูแลเพื่อให้รู้ว่ามีผู้สูงอายุในห้องนี้ก าลังเดินออกจากเตียง คนดูแลก็จะเดินไปให้ความช่วยเหลือคอยเฝ้าระวังในทันที 54 ห้องพักของที่นี่จะมีทั้งแบบห้องเดี่ยว ห้องคู่ และห้องพัก 4 คน ห้องที่มีคนอยู่ด้วยจะมี ประตูเลื่อนกั้นเพื่อความเป็นส่วนตัวของอีกฝ่าย โดยจะมีช่องว่างด้านบนของส่วนประตูกั้น (วงกลมสีฟ้า) คน ดูแลได้อธิบายว่าเป็นการออกแบบโดยตั้งใจเพื่อให้ต่างฝ่ายต่างสบายใจว่าอีกด้านหนึ่งของห้องมีคนอยู่ด้วย ไม่ได้ปิดกั้นทึบโซนใครโซนมันซะทีเดียว ส่วนใครที่คิดถึงบรรยากาศแบบบ้านญี่ปุ่นตรงห้องนั่งเล่นก็จะมีมุม ห้องญี่ปุ่นที่มีเสื่อทาทามิและที่หย่อนขาไว้ให้นั่งพักผ่อนหย่อนใจ 55 56 54 http://i771.photobucket.com/albums/xx357/marumura/AME%20dama/Iraka/Iraka2.jpg โ โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 53 4) Sonorous Court Mitaka59 Sonorous Court Mitaka เป็น “Payment home for elderly person with care” หรือ ก็คือบ้านพักผู้สูงอายุของภาคเอกชนระดับห้าดาวที่ผู้ใช้บริการจะต้องออกค่าใช้จ่ายเอง ตั้งอยู่ที่เมือง Ichikawa มีการดูแลผู้สูงอายุทุกระดับ ตั้งแต่ ช่วยเหลือตัวเองได้มีภาวะพึ่งพิง และภาวะติดเตียง เนื่องจากโดยปกติแล้วบ้านพักคนชรามักจะแยกผู้อาศัยเฉพาะกลุ่ม สถานที่ตั้งอยู่ใกล้กับโรงพยาบาล สามารถส่งตัวถึงโรงพยาบาลได้ภายใน 10 นาที Sonorous Court Mitaka เปิดบริการตั้งแต่ปี 1985 ปัจจุบันมีห้องทั้งสิ้น 201 ห้อง โดยมี 135 ห้องเป็นผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองได้61 ห้องส าหรับผู้สูงอายุระยะพึ่งพิง และ 5 ห้องส าหรับพัก ชั่วคราว สามารถจุคนได้ทั้งสิ้น 245 คน มีอัตราส่วนผู้ป่วยต่อจ านวนเจ้าหน้าที่เท่ากับผู้ป่วย 1.5 ต่อ เจ้าหน้าที่ 1 คน อายุของผู้สูงอายุโดยเฉลี่ยคือ 84 ปีเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชายที่อัตรา 7: 3 ภาพโมเดลจ าลองที่พักแบบ high rise มี 12 ชั้น 59 https://blog.healthathome.in.th/2016/10/japanese-aging-society-part1/ โครงการการศึกษารูปแบบการให้บริการ การบริหารและการจัดการที่พักส าหรับผู้สูงอายุ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 54 ห้องน้ าที่ออกแบบโดยใช้หลัก Universal design มีที่จับยึด พื้นเรียบไม่มี step ไม่ลื่น ป้องกันการหกล้ม และระบบ Emergency detection เป็น Device ห้อยคอ และ โทรศัพท์ภายใน ถ้ากด ปุ่มเจ้าหน้าที่จะวิ่งขึ้นมาดูทันที ผู้ที่ต้องการเข้าพักอาศัยที่นี่จะต้องเสียค่าแรกเข้า 21 ล้านเยน (~ 6.9 ล้านบาท) ส าหรับ ห้อง 42 ตารางเมตร และ 123 ล้านเยน (40 ล้านบาท) และส าหรับห้อง 70 ตารางเมตร ต้องจ่ายค่า รายเดือน: 230,000 เยน (~ 70,000 บาท) แต่หากเสียชีวิตจะมีการค านวนตามอายุ แล้วคืนเงินบางส่วน ให้กับทางครอบครัว 5) ฮิลเดอมอร์ (Hyldemoer) และฮิลเต้ (Hutte)60 บริษัท โตเกียว มารีน นิชิโด ซามูเอล จ ากัด (มหาชน) มีศูนย์บริการหรือบ้านพักผู้สูงอายุ 2 แบรนด์ คือ ฮิลเดอมอร์ (Hyldemoer) และฮิลเต้ (Hutte) เริ่มด าเนินธุรกิจมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ปัจจุบันมีศูนย์ดูแลผู้สูงอายุรวม 11 อาคาร รวม 498 ห้อง อยู่ในหลายเมืองทั้งโตเกียว คานาคาวา เกียวโต และนากาโน จับกลุ่มระดับบน (ไฮเอนด์) ส าหรับผู้ที่อยากเข้าไปอยู่อาศัยหลักเกณฑ์ของการเข้าอยู่ใน บ้านพักคนชราแห่งนี้ต้องมีค่าแรกเข้า ส าหรับฮิลเดอมอร์ มีค่าแรกเข้าขั้นต่ าประมาณ 10 ล้านบาท ส่วน ฮิลเต้ ประมาณ 5 ล้านบาท และมีค่าใช้จ่าย รายเดือนเฉลี่ยทั้ง 2 แห่งใกล้เคียงกันประมาณเดือนละ 100,000 บาท อัตราค่าแรกเข้าที่แตกต่างกันมักจะขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ห้องพักตั้งแต่ 20 ตารางเมตร จนถึง 120 ตารางเมตร จนถึงจ านวนคนที่ดูแล เช่น 1คนต่อผู้สูงอายุ 1คน หรือคนดูแล 3 คนต่อผู้สูงอายุ 1 คน อีกทั้งแต่ละตึกยังแบ่งระดับของผู้สูงอายุแบบช่วยเหลือตัวเองได้และช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ต้องมีการท า กายภาพบ าบัด
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น