ซีเนียร์คอมเพล็กซ์เมืองพัทยา ทะเลเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด โดย ดร.สมัย เหมมั่น กรรมการบริหาร

กุมภาพันธ์ 28, 2564 ซีเนียร์คอมเพล็กซ์เมืองพัทยา ทะเลเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด โดย ดร.สมัย เหมมั่น กรรมการบริหาร โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ทะเลเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โครงการเพื่อ สมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นคอนโดมิเนียม แบบโลไลต แบบสูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแล อีก 20% สุทธิและ การบริการนิติบุคคล ประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวง พัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกัน เปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัย.หลังเกษียณ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข) 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ,หล่มสัก-อ,หล่มเก่า-อ,เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข) 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ,ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข) 4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข) 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี(วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข) 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข) ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ คณะบริหารโครงการ ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค นาย บุญชัย ตุนอาภรณ์รัตน์ ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ บริษัท สยามเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารงานการก่อสร้าง “วิสัยทัศน์” มุ่งมั่นให้บริการอย่างมืออาชีพ ด้วยพนักงานคุณภาพ ผลงานมาตรฐาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ยากไร้อย่างจิตอาสา ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า เสร็จตามเป้าหมาย ใช้เทคโนโลยีทันสมัยและก้าวหน้า มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง พันธกิจ “สร้างเพื่อความแข็งแกร่ง เรามุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็นสถาบันก่อสร้างที่แข็งแกร่ง” “สร้างเพื่อพันธมิตรทางธุรกิจ เรามุ่งมั่นเพื่อเป็นผู้รับเหมาหลัก ที่ผู้รับเหมารายย่อยและคู่ค้าเลือกด้วยความเชื่อมั่น และไว้วางใจยินดีพร้อมก้าวหน้าไปด้วยกัน” “สร้างงาน เรามุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นประสิทธิภาพ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้พร้อมนำศักยภาพที่ดีที่สุดของตนเองมาใช้” “สร้างเพื่อสังคม เรามุ่งมั่นมอบผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุดให้กับผู้ถือหุ้นด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินธุรกิจ และสร้างสรรค์สังคมการเติบโตอย่างยั่งยืน” “สร้างเพื่อชุมชนและสังคม เรามุ่งมั่นเพื่อสนับสนุน และเสริมสร้างสิ่งที่ดีสู่ชุมชน และสังคมและความเท่าเทียมของสังคม ให้ได้รับการบริการที่ดีๆ” หลักการและเหตุผลของโครงการ เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนี่ยร์ตอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ของแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และ การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1.ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบด้วย 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำ 1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ 2. กิจกรรทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆของโลก แบ่งเป็น 2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจแบบยังชีพ(Subsistence Economy ) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน 2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลก รวมทั้งไทยในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยกิจกรรมของมนุษย์ ความขาดแคลนทรัพยากรและปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ(ผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร) ที่เกิดขึ้นในสังคม ทำให้แต่ละสังคมต้องหาวิธีการแก้ไข เศรษฐศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหนทางในการจัดสรรทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต(ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ) ที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เศรษฐศาสตร์ (Economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรอันมีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆในการสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งมีไม่จำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คริสต์ศตวรรษที่ 18 การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นแบบแผนได้เริ่มขึ้น โดยผู้วางรากฐานและได้รับการยกย่องว่าเป็น ”บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์” คือ อาดัม สมิท นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยหนังสือชื่อ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ที่เขาเขียนขึ้นในปี ค.ศ.1776 (พ.ศ.2319) ถือเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกและยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมาจนถึงยุคปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรือระดับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหน่วยงานการผลิตแต่ละกลุ่มหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือ เฉพาะบุคคล หรือหน่วยงานการผลิต ซึ่งแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับส่วนย่อยๆของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ และ หน่วยรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มหาภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของทั้งระบบโดยรวม ได้แก่ รายได้ประชาติ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การออม การลงทุน การจ้างงาน และ การบริโภครวมทั้งการคลัง การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์มหาภาค มีเนื้อหา ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับรายได้และการจ้างงาน ในอดีต จึงเรียกว่า ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน สรุป เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์มหาภาค ที่ศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจระดับประเทศและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ของเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และ การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำมีความอุดมสมบูรณ์จะเหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน การคมนาคมขนส่งสะดวก แต่ไม่ปลอดภัยจากการรุกราน แต่ที่ราบสูง ภูเขา จะ แห้งแล้ง การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก ไม่เหมาะกับการตั้งถิ่นฐาน แต่ปลอดภัยจากการรุกราน บริเวณที่ติดทะเลก็จะมีการประกอบอาชีพเกี่ยวกับทะเล เป็นต้น 1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค รวมทั้งการประกอบกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ในเขตต่างๆ ของโลก เช่น เขตร้อนส่วนใหญ่ปลูกข้าวเจ้า ใส่เสื้อผ้าบาง มีฝนตกชุก ซึ่งมักจะปลูกอาคารบ้านเรือนมีหลังคาชันเพื่อใต้ถุนสูง เพื่อให้น้ำฝนไหลสะดวกและไม่ขังบริเวณใต้ถุนบ้าน สำหรับกิจกรรมของประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยลักษณะลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศเข้าช่วย เช่น การทำนาข้าว ส่วนมากจะทำในฤดูฝน ส่วน การทำนาเกลือ การก่อสร้าง การทาสี ก็จะทำกันในฤดูแล้ง และ ลักษณะภูมิอากาศยังมีผลต่อสุขภาพและพลังงานในตัวมนุษย์หลายประการ เช่น ประชาชนในเขตร้อนจะเหนื่อยง่าย หอบเร็ว ทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรง ต่างจากประชากรในเขตหนาวหรือ เขตอบอุ่นจะมีความขยัน อดทน กระตือรือร้นมากกว่า เป็นต้น 2. กิจกรรทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆของโลก แบ่งเป็น 2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเศรษฐกิจแบบยังชีพ ( Subsistence Economy ) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน เช่น การเก็บหาของป่า การล่าสัตว์ การจับปลา การเพาะปลูก เพื่อการบริโภคเอง ไม่ได้ผลิตเพื่อจำหน่าย ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เป็นลักษณะของชุมชนในอดีต หรือชนบทที่ห่างไกลความเจริญ 2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลก รวมทั้งไทยในปัจจุบัน มนุษย์จะไม่ทำการผลิตสิ่งของที่ตนเองต้องการเองทุกอย่าง แต่จะแบ่งอาชีพกันทำตามความถนัด แล้วนำผลผลิตมาซื้อขายแลกเปลี่ยนกันโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อการค้า เป็นการประกอบอาชีพเพื่อส่งออกจำหน่ายไปยังภูมิภาคต่างๆของโลก โดยอาศัยระบบการคมนาคมขนส่งให้สินค้าเข้าสู่ตลาดจะนำผลประโยชน์มาสู่สังคมที่เจริญ หรือระบบสังคมที่ซับซ้อน ตลอดจนทั้งเขตชุมชนและเมืองต่างๆทุกแห่งในโลกปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนี่ยร์ตอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์แยกการศึกษาเศรษฐศาสตร์ออกเป็น 2 สาขาใหญ่ๆ คือ 1.เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจใดหน่วยเศรษฐกิจหนึ่ง เช่น การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภครายใดรายหนึ่งว่าจะมีการตัดสินใจในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการอย่างไร จำนวนเท่าใด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความพอใจสูงสุดภายใต้ขีดจำกัดของรายได้จำนวนหนึ่ง พฤติกรรมของผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งว่าจะตัดสินใจเลือกผลิตสินค้าอะไร จำนวนเท่าใด ด้วย วิธีการอย่างไร และจะกำหนดราคาเท่าไร จึงจะได้กำไรสูงสุด ศึกษาพฤติกรรมการลงทุน การออมของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ศึกษากลไกตลาดและการใช้ระบบราคาเพื่อการจัดสรรสินค้า บริการ และทรัพยากร อื่นๆ จะเห็นได้ว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาคส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับราคาในตลาดแบบต่างๆ นักเศรษฐศาสตร์บางท่านจึงเรียกวิชาเศรษฐศาสตร์อีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีราคา (Price Theory) 2.เศรษฐศาสตร์มหาภาค (macroeconomics) เป็นการศึกษาภาวะเศรษฐกิจโดยส่วนรวม ทั้งระบบเศรษฐกิจหรือทั้งประเทศ อันได้แก่ การผลิตของระบบเศรษฐกิจ การบริโภค การออม และการลงทุนรวมของประชาชน การจ้างงาน ภาวะการเงินและการคลังของประเทศ ฯลฯ เศรษฐศาสตร์มหาภาคโดยทั่วไปจะครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น รายได้ประชาชาติ วัฏะจักรเศรษฐกิจ เงินเฟ้อและระดับราคา การคลังและหนี้สาธารณะ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การเงินและสถาบันการเงิน และเศรษฐศาสตร์การพัฒนา ฯลฯ ความสัมพันธ์ของวิชาเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น การเลือกการผลิต การบริโภค การดำรงชีพ และการปฏิบัติต่อบุคคลต่างๆที่อยู่ในสังคมเดียวกันหรือต่างกัน ดังนั้นเศรษฐศาสตร์จึงเป็นวิชาหนึ่งของสังคมศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในหมู่มนุษย์ที่มี ผลมาจากการอยู่รวมกันในสังคมและมีการดำเนินกิจกรรมต่างๆร่วมกัน ซึ่งในการศึกษาและการแก้ไข ปัญหาต่างๆ ตลอดจนการจัดระเบียบวิธีที่เกี่ยวกับมนุษย์จำเป็นที่วิชาเศรษฐศาสตร์ต้องไปเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับวิชาอื่นๆในสังคมศาสตร์ เช่น การบริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ จิตวิทยา ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ และอื่นๆ 1.เศรษฐศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นส่วนหนึ่งจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ผลิต เช่น การศึกษาทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิตและตลาด ฯลฯ จะเห็นได้ว่าแต่ละหัวข้อจะมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นกล่าวได้ว่าการบริหารธุรกิจส่วนหนึ่งเป็นการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ เพื่อให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ ให้ได้รับกำไรสูงสุดและธุรกิจเจริญเติบโตก้าวหน้า 2.เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในแง่ที่ว่าแต่ละประเทศจะไม่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้หากประเทศไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง เนื่องจากนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศไม่มีความมั่นใจจึงชะลอการลงทุน ทำให้เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย ในทางกลับกัน หากนักลงทุนมีความมั่นใจในสถานการณ์ทางการเมือง การลงทุนจะเพิ่มขึ้น ทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าปัญหาการเมืองกับปัญหาเศรษฐกิจเป็นปัญหาควบคู่กันไม่สามารถแยกจากกันได้ กล่าวคือ จะต้องพัฒนาไปพร้อมๆกันประเทศจึงจะมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพ 3.เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม และส่วนหนึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้นหากนักกฎหมายมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ย่อมจะเป็นผลดีต่อการตราหรือออกใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจของประเทศ ในทำนองเดียวกัน เนื่องจากกฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์เองจำเป็นจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้วย ทั้งนี้ เพื่อการใช้กฎหมายในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจจะได้เป็นไปตามที่มุ่งหวัง 4.เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งส่วนหนึ่งสามารถใช้เป็นบทเรียนหรือเป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนาและแก้ปัญหาเศรษฐกิจ อย่างน้อยที่สุดประวัติศาสตร์จะเป็นกระจกที่สะท้อนให้เห็นถึงลำดับของเหตุการณ์ในอดีตที่ เกิดขึ้น ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อทุกสาขาวิชา รวมทั้งวิชาเศรษฐศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันได้มีการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของการเรียนการสอนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัย 5.เศรษฐศาสตร์กับจิตวิทยา เนื่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ดังนั้นความรู้ในด้านจิตวิทยาจึงมีส่วนสำคัญต่อการเรียนรู้ทางเศรษฐศาสตร์ เพราะต่างก็ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การจะอธิบายปรากฏการณ์บางอย่างที่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เช่น การเลือกบริโภคสินค้าของผู้ซื้อ ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาของมนุษย์ย่อมช่วยให้เข้าใจการกระทำบางอย่างของมนุษย์ได้ ในเวลาเดียวกัน นักจิตวิทยาอาจนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ได้ 6.เศรษฐศาสตร์กับคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษากันอยู่ในปัจจุบันคือการศึกษาเศรษฐศาสตร์เชิงปริมาณ ซึ่งเป็นวิชาที่ต้องอาศัยคณิตศาสตร์และสถิติเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจต่างๆหรือเพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจเหล่านั้น ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ มากมายดังต่อไปนี้ 1. เศรษฐศาสตร์สัมพันธ์กับรัฐศาสตร์ การเมือง และกฎหมายอย่างใกล้ชิด ในสมัยก่อนเรียกวิชาเศรษฐศาสตร์ว่า “เศรษฐศาสตร์การเมือง” เพราะการค้าเป็นกิจกรรมต่าง ๆ มักถูกรัฐบาลเข้าแทรกแซงเสมอ แม้กระทั่งในปัจจุบันก็เช่นกัน และมีความสัมพันธ์กับกฎหมายในแง่ที่ว่าการออกกฎหมายบางเรื่องอาจเกิดขึ้นจากการพยายามที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจ เช่น กฎหมายการค้ากำไรเกินควร กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายค่าแรงขั้นต่ำ เป็นต้น 2. เศรษฐศาสตร์มีความสัมพันธ์กับการบริหารธุรกิจอย่างมาก เพราะในการตัดสินใจของนักธุรกิจไม่ว่าจะเป็นการเลือกโครงการลงทุน การกำหนดปริมาณการผลิตและกำหนดราคาสินค้า จำเป็นต้องอาศัยหลักเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์เข้าช่วยในการตัดสินใจ รวมทั้งต้องเข้าใจถึงระบบเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจ ตลอดจนปัญหาเศรษฐกิจ เพราะจะมีผลกระทบต่อการลงทุนโดยตรง 3. เศรษฐศาสตร์มีความสัมพันธ์กับหลักจิตวิทยา เพราะพฤติกรรมของมนุษย์ในการตัดสินปัญหาเศรษฐกิจ ต้องคำนึงถึงหลักจิตวิทยาด้วย เช่น การตั้งราคาสินค้าให้ลงท้ายด้วย 9 199 299399 เป็นต้น เพื่อทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่าสินค้ามีราคาถูกโดยเฉพาะ เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง หรือการมีของแถมให้กับผู้บริโภคถ้าซื้อปริมาณมาก เป็นต้น 4. เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ต้องเกี่ยวกับเรื่องทรัพยากร ดิน ฟ้า อากาศ ตลอดจนที่ตั้งของหน่วยเศรษฐกิจหรือประเทศต่าง ๆ ดังนั้นความรู้ทางภูมิศาสตร์จึงสามารถช่วยให้นักเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์เรื่องต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น เช่น การวิเคราะห์ปัญหาการค้าระหว่างประเทศ เป็นต้น และทรัพยากรธรรมชาติจะมีความเกี่ยวข้องกับความรู้ทางภูมิศาสตร์มาก 5. เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ การอาศัยเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เป็นสิ่งช่วยอธิบายหรือคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรืออาจเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อาจเป็นสิ่งเตือนใจให้นักเศรษฐศาสตร์ระลึกว่า ถ้ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นจะมีสิ่งใดเกิดตามมาเพื่อจะได้รับเหตุการณ์นั้นได้ดียิ่งขึ้น 6. เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ การออกกฎหมายบางอย่างหรือโดยบางประเทศอาจมีส่วนจำกัดหรือเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการทางเศรษฐกิจ เช่น กฎหมายสงวนอาชีพบางอย่าง หรือแม้แต่การตรากฎหมายภาษีอากร กฎหมายการค้า กฎหมายส่งเสริมการลงทุน การกำหนดอาณาเขตไมล์ทะเลระหว่างประเทศ เป็นต้น มีส่วนกระทบกระเทือนถึงการดำเนินการทางเศรษฐกิจของประเทศที่เกี่ยวข้องในทำนองเดียวกัน การจะออกกฎหมายอะไรอาจต้องคำนึงถึงสถานะทางเศรษฐกิจว่าเมื่อออกกฎหมายแล้วจะมีผลกระทบกระเทือนถึงประชาชนมากน้อยแค่ไหน 7. เศรษฐศาสตร์กับจริยะศาสตร์ เนื่องจากศาสนามีอิทธิพลเหนือการกระทำของคนมานานแล้ว บทบัญญัติทุกศาสนาล้วนแต่สอนให้บุคคลมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มิให้เอารัดเอาเปรียบกัน สอนให้คนละเว้นความโลภ ถ้าจะมองในเชิงเศรษฐศาสตร์ หมายความว่า ศาสนาประณามการเอารัดเอาเปรียบกันในการค้าขาย เช่น การค้ากำไรเกินควร การปลอมแปลงสินค้าการให้กู้ยืมโดยเรียกดอกเบี้ยสูง ๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นวิธีการทำนาบนหลังคนแบบหนึ่ง และเป็นผลเสียแก่เศรษฐกิจส่วนรวม ในปัจจุบัน ยังมีการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับศาสตร์อื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ประยุกต์เข้ากับโครงการทางวิศวกรรม ซึ่งจะเรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประยุกต์เข้ากับโครงการอุตสาหกรรม เรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ประยุกต์เข้ากับโครงการทางสาธารณสุขเรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข รวมทั้งประยุกต์เข้ากับโครงการทางแพทย์เรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์การแพทย์ เป็นต้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า วิชาเศรษฐศาสตร์มิใช่วิชาที่โดดเดี่ยว ผู้ที่ศึกษาวิชา วิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อนำมาผลิตสินค้าและบริการให้ได้มากที่สุด เพื่อนำมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จำกัด แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มีมาช้านานแล้วตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 โดยสอดแทรกอยู่ในความเชื่อถือและปรัชญา ต่อมาจึงได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนรู้จักกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นหลักการที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวันอยู่อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มี 2 แขนง ได้แก่ เศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนย่อยๆแต่ละบุคคล เช่น การผลิต การจำหน่าย การซื้อขายแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน และเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนรวมระดับประเทศ เช่น การศึกษารายได้ประชาชาติ คือศึกษาถึงรายได้ของประชาชนทั่วประเทศ หรือ ศึกษาถึงภาวะการลงทุน การว่างงาน ภาวะการเงินต่าง ๆ นอกจากนั้นเศรษฐศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ เช่น บริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ จิตวิทยา ดังนั้น การศึกษาเศรษฐศาสตร์จึงทำให้เข้าใจถึงระบบเศรษฐกิจ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตสินค้า เพื่อนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุด มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนี่ยร์ตอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข จะบรรยายเพิ่มเติมในภายหลังเศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ : บริหารธุรกิจเป็นวิชาที่มีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์อยู่มาก ถึงแม้ว่าในภาคส่วนของบริหารธุรกิจจะมีเป้าหมายสูงสุดที่การผลิตเพื่อเสียต้นทุนต่ำที่สุดนำไปสู่การได้กำไรสูงสุด ซึ่งนักธุรกิจโดยส่วนใหญ่หากมีความเข้าใจในเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นองค์รวมแล้วจะสามารถคาดการณ์แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในอนาคตได้ว่าจะไปในทิศทางใด และนำไปสู่กำหนดเป้าหมายในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ ส่วนในการกำหนดเป้าหมายนโยบายทางเศรษฐกิจย่อมมีผลเขื่อมโยงกับภาคส่วนของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น หากในส่วนของเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจกับหน่วยธุรกิจมีการเชื่อมโยงสอดประสานเกื้อหนุนซึ่งกันและกันแล้ว ก็จะทำให้การขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อพึงสังเกต การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ หลาย ๆ ท่านอาจคิดว่ามีความคล้ายและสามารถนำเอาหลักการการบริหารธุรกิจมาใช้กับการกำหนดและบริหารจัดการเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ตรรกะในการบริหารนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ ก็มีเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการเจริญเติบโตของธุรกิจ เพื่อให้บรรลุถึงการอยู่ดีกินดีของประชาชนและการอยู่ดีกินดีของเจ้าของธุรกิจ แต่ในทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุซึ่งเป้าหมายดังกล่าวของการบริหารเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจนั้น ปรัชญาในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมัก จะทำตรงกันข้าม กับการบริหารธุรกิจอย่างสิ้นเชิง กรณีที่ ๑ ในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) พฤติกรรมส่วนใหญ่ของภาคเอกชนในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) เนื่องจากว่า เป็นภาวะที่ภาคเอกชนต้องการฉกฉวยโอกาสในผลประโยชน์จากสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุซึ่งปรัชญากำไรสูงสุด โดยมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในภาคธุรกิจ รวมทั้งมีการบริโภคเพิ่มขึ้นในภาคครัวเรือน ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องคอยดูแลระบบเศรษฐกิจเพื่อไม่ให้เศรษฐกิจขยายตัวร้อนแรงเกินไป (overheating) โดยการดำเนินนโยบายผ่านกลไกทางด้านนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ ในภาวะปกติการบริหารและจัดการนโยบายเศรษฐกิจ ผู้ที่มีอำนาจและหน้าที่ต้องตระหนักถึง พฤติกรรมของภาคเอกชน โดยส่วนใหญ่ก่อน เพราะภาครัฐมีหน้าที่หลักที่สำคัญในการที่จะบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้ สังคมโดยส่วนรวมบรรลุถึงการเจริญเติบโตแบบยั่งยืน หรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เพื่อลดทอนความเสี่ยงของการนำไปสู่ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ และการเจริญเติบโตที่ไม่สมเหตุสมผลกับภาวะพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (การเจริญเติบโตที่เกิดจากภาวะฟองสบู่) รวมทั้งการเจริญเติบโตที่เพิ่มอัตราเร่งให้เกิดช่องว่างระหว่างรายได้ทางสังคมที่สูงขึ้น ดังนั้นภาครัฐต้องตระหนักและเข้าใจพฤติกรรมรากเหง้าทางสังคมเศรษฐกิจของภาคเอกชนโดยส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจเสรีทุนนิยมก่อน เพื่อนำไปสู่การดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจเพื่อนำไปสู่จุดที่สังคมปรารถนาร่วมกัน คือ การเจริญเติบโตแบบยั่งยืน หรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ในภาวะเศรษฐกิจปกติพฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ในการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชนจะขยายตัวเป็นอย่างมาก ซึ่งภาวะดังกล่าวเป็นสิ่งที่ดีในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก GDP ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่ สิ่งที่ภาครัฐต้องต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นสำคัญในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ ก็คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจดังกล่าวนั้น มีแนวโน้มนำไปสู่ภาวะฟองสบู่ โดยภาคเอกชนจะเพิ่มการลงทุนเพื่อขยายกิจการอย่างต่อเนื่อง กรณีที่ ๒ ภาวะเศรษฐกิจเจ็บป่วย : วิกฤติเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำ) ในภาวะที่เศรษฐกิจชะลอตัวและตกต่ำนั้น พฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ของภาคเอกชนจะลดการลงทุนและลดต้นทุนทุกอย่างที่สามารถจะลดได้เพื่อให้ธุรกิจของตนเองอยู่ได้ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ รวมทั้งภาคครัวเรือนก็จะลดการบริโภคลงมาด้วย ดังนั้น ภาครัฐต้องทำสิ่งดังกล่าวที่ขาดหายไปในระบบเศรษฐกิจแทนภาคเอกชนเพื่อที่จะทำให้เกิดการจ้างงาน โดยการดำเนินเมนูนโยบายที่เอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจผ่านทางกลไกของนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาวะเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจนั้นต้องมุ่งเน้นไปที่การกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นสำคัญโดยการ เพิ่มปริมาณเงิน เข้าไปในระบบเศรษฐกิจก่อนโดยผ่านเครื่องมือและกลไกทางด้านนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ และโดยส่วนใหญ่ในภาวะวิกฤตินี้ เมนูนโยบายการคลังในภาคส่วนของการใช้จ่ายภาครัฐ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดผลรวดเร็ว เปรียบเสมือนคนป่วยใกล้จะตาย หมอต้องเลือกช่วยชีวิตคนป่วยก่อนเป็นอันดับแรก เช่น การปั้มหัวใจ ซึ่งก็เปรียบเสมือนการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบก่อนเป็นลำดับแรก เนื่องจากในภาวะดังกล่าว ภาคเอกชนจะลดการลงทุนและการบริโภค เพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจ ภาครัฐจึงไม่ควรดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจอันก่อให้เกิดการหดตัวทางเศรษฐกิจ เฉกเช่นภาคเอกชน เพราะจะยิ่งทำให้เศรษฐกิจหดตัวรุนแรงไปอีก ภาครัฐจึงควรดำเนินนโยบายที่ไปเอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปสู่ระบบเศรษฐกิจ อาจกล่าวได้ว่าแนวความคิดในการบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจกับการบริหารธุรกิจมักจะ “ทำตรงกันข้าม” เมื่อเผชิญกับภาวะต่าง ๆ ในเศรษฐกิจ โครงสร้างระบบสาธารณะสุข และการเป็นลักษณะที่อยู่อาศัย การวางแผนการอยู่อาศัยในวัยสูงอายุหรือวัยหลังเกษียณ จากการทำงานที่ต้องวางแผนการอยู่อาศัยแบบจริงจังในการใช้ชีวิต ในปี พ.ศ. 2562-64 เป็นปี่ที่ประเทศไทยและทั่วโลกได้รับผลกระทบเรื่องโรคระบาตร หรือการแพร่เชื่อ ของไวรัส โควิท 19 ที่มีผลกระทบเป็นอย่างมาก ผลคือ 1.ผู้สูงอายุได้รับผลจากการระบาทจากการแพร่เชื้อโรค ประเทศไทย ผู้สูงอายุ ป่วยเพราะผลการแพร่เชื้อ จำนวน 10,000 คน และเสียชีวิต จำนวน 60 ราย ของจำนวนผู้สูงอายุไทยที่ติดเชื้อ 2.ผู้สูงอายุทั่วโลก ติดเชื้อ จำนวน 108 ล้าน คน และเสียชีวิตจำนวน มากถึง 2.3 ล้านคน ดังสถิติดังนี้ สาเหตุที่ได้รับการติดเชื้อ ดังนี้ 1.ไม่มีภูมิป้องกันโรค 2.ไม่มีที่ อยู่อาศัยที่สามารถป้องกันเชื้อโรคได้ 3.ไม่ให้ความรู้และวิธีการป้องกันเบื้องต้นได้ 4.รัฐบาลแต่ละประเทศไม่มีงบประมาณในการป้องกัน 5.รัฐบาลไม่จำแนกคัดแยกคนที่ติดเชื่อ 6.รัฐบาลไม่มีที่อาศัยที่มีคุณภาพเพื่ออยู่อาศัยที่ดี 7.ผู้สูงอายุ ทุกคนไม่ได้วางแผนการอยู่อาศัยที่ดี ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่ต้องร่วมมือกันในการดำรงอยู่ในสังคมที่ดีต่อกัน วิธีการป้องกัน ในกรณีดังกล่าว ดร.สมัย เหมมั่น ได้คิด โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์เพื่อสมาชิก องค์กร และประชาชนผู้ยากไร้ตลอดจนข้าราชการ ทุกๆคน เพื่อวางแผนการใช้ชีวิต ในวัยสูงอายุ ต้นเหตุของปัญหา จึงเกิดโครงการขึ้นมาเพื่อรองรับ กับปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จนในวันนี้ มันเกิดขึ้นมาแล้ว และอาจร้ายแรงกว่านี้ จึงขอให้ทุกท่านทราบว่า เราควรป้องกันปัญหาที่จะเกิดและร่วมมือที่จะป้องกันปัญหาที่จะเกิดมาในวันต่อๆไป และคาดหวังว่าโครงการดักล่าวจะได้การต้อนรับหรือตอบรับการสมาชิก เป็นอย่างดีตลอดไปและทั้งนี้ทางคณะบริหารทุกท่าน มีความพร้อมที่จะให้บริการเป็นอย่างอดี และมีคุณภาพ จึงจัดโครงการที่ดีมาไว้ให้สมาชิก ฯ ข่าวสารการติดเชื้อทั่วโลก ดังนี้ วันนี้ (15 กุมภาพันธ์) ทางการญี่ปุ่นอนุมัติการใช้งานวัคซีนต้านโควิด-19 Pfizer-BioNTech เป็นกรณีฉุกเฉินแล้ว นับเป็นวัคซีนต้านโควิด-19 ตัวแรกของประเทศที่ทางการอนุมัติเพื่อเสริมมาตรการรับมือโรคระบาดภายในญี่ปุ่น หลังวัคซีนล็อตแรกราว 4 แสนโดสขนส่งจากเบลเยียมถึงกรุงโตเกียวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา โดยวัคซีนจาก Pfizer-BioNTech เป็นวัคซีนประเภท Genetic Vaccines ที่ใช้ mRNA เช่นเดียวกับ Moderna มีประสิทธิภาพในการต้านโควิด-19 สูงถึง 95% ทั้งยังเป็นวัคซีนตัวแรกที่ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก และได้รับการอนุมัติให้ใช้ในหลายประเทศที่สุดในช่วงเวลานี้ ฉีดทั้งหมด 2 เข็ม ห่างกัน 3 สัปดาห์ จัดเก็บที่อุณหภูมิ -70 องศาเซลเซียส ล่าสุด ญี่ปุ่นมีผู้ติดเชื้อสะสมแล้วราว 4.16 แสนราย เสียชีวิตแล้วราว 7,000 ราย ขณะที่ทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อโควิด-19 สะสมแล้วกว่า 108 ล้านราย (108,782,607 ราย) รักษาหายแล้ว 81,469,728 ราย หรือคิดเป็นราว 74% ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด เสียชีวิตแล้ว 2,398,866 ราย อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ราว 2.2% พบผู้ติดเชื้อแล้วอย่างน้อย 186 จาก 193 ประเทศทั่วโลก ล่าสุด สหรัฐอเมริกายังคงเป็นประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสะสมมากที่สุด (27,638,748 ราย) และมียอดผู้เสียชีวิตสะสมมากที่สุดกว่า 4.8 แสนราย ตามมาด้วยอินเดีย (10,904,940 ราย) บราซิล (9,834,513 ราย) สหราชอาณาจักร (4,049,920 ราย) และรัสเซีย (4,026,506 ราย) วันนี้ (27 กุมภาพันธ์) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ผ่านมานานเกือบ 1 ปี 2 เดือน ทั่วโลกมีผู้ติดโควิด-19 สะสมแล้วกว่า 113 ล้านราย (113,375,335 ราย) รักษาหายแล้ว 89,540,155 ราย หรือคิดเป็นราว 74% ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด เสียชีวิตแล้ว 2,515,896 ราย อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ราว 2.2% ล่าสุด สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสะสมมากที่สุด (28,486,118 ราย) ตามมาด้วยอินเดีย (11,063,491 ราย) บราซิล (10,455,630 ราย) รัสเซีย (4,175,757 ราย) และสหราชอาณาจักร (4,175,315 ราย) ขณะที่ 5 ประเทศที่มีผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 มากที่สุด ยังคงเป็นสหรัฐอเมริกา (510,458 ราย) บราซิล (252,835 ราย) เม็กซิโก (184, 474 ราย) ตามมาด้วยอินเดีย (156,825) และสหราชอาณาจักร (122,648 ราย) พบผู้ติดเชื้อแล้วอย่างน้อย 186 จาก 193 ประเทศทั่วโลก เหลือเพียง 7 ประเทศปลอดเชื้อที่ยังไม่พบการยืนยันผู้เสียชีวิตรายแรกจากโควิด- 19 อย่างเป็นทางการ ได้แก่ เกาหลีเหนือ, เติร์กเมนิสถาน, คิริบาตี, ตูวาลู, ปาเลา, นาอูรู และตองกา โดยเหตุผลสำคัญที่ทำให้ยังคงไม่พบผู้ติดเชื้อรายแรกเป็นเพราะส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะขนาดเล็ก ตั้งกระจายอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนประชากรไม่มากนัก อีกทั้งยังได้ประกาศระงับการเดินทางเข้าประเทศของนักท่องเที่ยวต่างชาตินับตั้งแต่ระยะแรกๆ ของการแพร่ระบาด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศ ขณะที่หลายฝ่ายยังคงตั้งคำถามเกี่ยวกับความถูกต้องและความโปร่งใสของข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด-19 ภายในเกาหลีเหนือและเติร์กเมนิสถาน ที่มีดัชนีเสรีภาพสื่อน้อยที่สุดในโลกประจำปี 2020 HIGHLIGHTS • ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ผู้วิจัยได้ส่งบทความตีพิมพ์ล่วงหน้าในวารสารทางการแพทย์ Lancet ถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลเฟส 3 เพิ่มเติมว่าภายหลังจากได้รับการฉีดเข็มแรก วัคซีน AstraZeneca มีประสิทธิภาพ 76% และเมื่อวิเคราะห์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์พบว่าภูมิคุ้มกันจะยังคงที่ไปตลอด 3 เดือน • ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของวัคซีนนี้คือสามารถเก็บรักษาในอุณหภูมิ 2-4 องศาเซลเซียส หรือในตู้เย็นปกติได้ (เหมือนวัคซีน Sinovac) วัคซีน 1 ขวดบรรจุทั้งหมด 10 โดส ภายหลังจากเปิดใช้แล้วต้องใช้ให้หมดภายใน 6 ชั่วโมง โดยระหว่างนี้สามารถวางไว้ที่อุณหภูมิห้องไม่เกิน 30 องศาเซลเซียสได้ • บ่ายของวันที่ 23 กุมภาพันธ์ มีข่าวว่าในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นอกจากวัคซีน Sinovac จากประเทศจีนจะมาถึงประเทศไทยแล้ว วัคซีน AstraZeneca ก็จะได้รับในวันเดียวกันด้วยรวม 4 แสนโดส หากเป็นความจริงก็นับว่าเป็นเรื่องเซอร์ไพรส์ แต่ในอีกมุมหนึ่งก็สะท้อนว่าแผนการจัดหาวัคซีนในช่วงแรกมีความไม่แน่นอนสูง และอาจทำให้ต้องปรับแผนการกระจายวัคซีนใหม่อีกครั้ง นอกจากวัคซีน Sinovac จากประเทศจีนที่จะมาถึงประเทศไทยในวันที่ 24 กุมภาพันธ์นี้ ยังมีข่าวว่าวัคซีน AstraZeneca จากยุโรปจะมาถึงในวันเดียวกันด้วย หากเป็นความจริงก็นับว่าเป็นเซอร์ไพรส์ของกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับวัคซีนอีกชนิดมาบริหารจัดการเพิ่มเติม เพราะ อย. ยังไม่อนุมัติวัคซีน Sinovac ในผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปี ซึ่งถ้า พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ต้องการฉีดวัคซีนเข็มแรกเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนก็น่าจะเป็นของบริษัทนี้ และเป็นวัคซีนที่ประเทศไทยจะได้รับการส่งมอบจากบริษัทสยามไบโอไซเอนซ์ช่วงกลางปี ผมจึงรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับวัคซีน AstraZeneca ให้ศึกษากันก่อนล่วงหน้าครับ ไทม์ไลน์ของวัคซีน AstraZeneca AstraZeneca เป็นบริษัทยาสัญชาติอังกฤษ-สวีเดน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ผลิตยาที่เกี่ยวข้องกับหลายโรค เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคไต และโรคทางเดินหายใจ สำหรับวัคซีนโควิด-19 ที่ผลิตชื่อ AZD1222 วิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด เป็นวัคซีนชนิด Viral Vector คือใช้ไวรัสอะดิโนที่ก่อโรคในลิงชิมแปนซี (ChAdOx1) เป็นตัวพาสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 เข้าไปในร่างกาย โดยหลักการแล้ววัคซีนชนิดนี้จึงมีความปลอดภัย เพราะไวรัสที่เป็นตัวพาไม่ก่อโรคในคน ส่วนไวรัสที่ก่อโรคโควิด-19 ถูกตัดต่อเหลือเฉพาะสารพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับหนาม (Spike) เท่านั้น ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ในการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน บริษัททดลองวัคซีนเฟส 1/2 ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2563 ในอาสาสมัครอายุระหว่าง 18-55 ปี จำนวน 1,077 คนในอังกฤษ พบว่าไม่พบผลข้างเคียงที่อันตราย และสามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ ต่อมาเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทดลองเฟส 2/3 ในอังกฤษ (เหมือนเดิม) มีกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่ม ได้แก่ อายุ 18-55 ปี, 56-69 ปี และมากกว่า 70 ปี จำนวน 160, 160 และ 240 คน ตามลำดับ พบผลข้างเคียงเหมือนการทดลองก่อนหน้านี้ เช่น ปวดบริเวณที่ฉีด เป็นไข้ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ โดยผู้สูงอายุพบอาการน้อยกว่าผู้ใหญ่ แต่การสร้างภูมิคุ้มกันใกล้เคียงกัน ส่วนเฟส 3 มีการทดลองเพิ่มเติมในแอฟริกาใต้และบราซิล รวมอาสาสมัคร 23,848 คน ผลการศึกษาเบื้องต้น (ติดตามจนถึงเดือนพฤศจิกายน 2563) ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ Lancet เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม โดยวิเคราะห์จากอาสาสมัคร 11,636 คน พบว่าผู้ที่ได้รับโดสปกติทั้ง 2 ครั้งมีประสิทธิภาพป้องกันการติดเชื้อที่มีอาการ 62.1% ส่วนผู้ที่ได้รับโดสต่ำในครั้งแรกตามด้วยโดสปกติ พบว่ามีประสิทธิภาพถึง 90.0% คิดเป็นประสิทธิภาพรวม 70.4% (กรณีโดสต่ำเป็นผลมาจากการคำนวณโดสผิดพลาดในอาสาสมัคร 2,741 คน แต่กลับพบว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่า) ผลข้างเคียงรุนแรงเกิดขึ้นทั้งหมด 175 เหตุการณ์ แต่เกิดในผู้ที่ได้รับวัคซีน 84 เหตุการณ์ แต่มีเพียง 1 เหตุการณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัคซีน ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ผู้วิจัยได้ส่งบทความตีพิมพ์ล่วงหน้า (Preprints) ในวารสารทางการแพทย์ Lancet ถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลเฟส 3 เพิ่มเติมว่าภายหลังจากได้รับการฉีดเข็มแรก วัคซีนมีประสิทธิภาพ 76% และเมื่อวิเคราะห์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์พบว่าภูมิคุ้มกันจะยังคงที่ไปตลอด 3 เดือน ซึ่งถ้าหากฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 12 สัปดาห์ (จากเดิมต้องห่างอย่างน้อย 4 สัปดาห์) จะมีประสิทธิภาพเพิ่มเป็น 82.4% ดังนั้นประเทศที่ยังไม่มีวัคซีนเพียงพออาจเลื่อนกำหนดการฉีดเข็มที่ 2 ออกไปได้ ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของวัคซีนนี้คือสามารถเก็บรักษาในอุณหภูมิ 2-4 องศาเซลเซียสหรือในตู้เย็นปกติได้ (เหมือนวัคซีน Sinovac) วัคซีน 1 ขวดบรรจุทั้งหมด 10 โดส ภายหลังจากเปิดใช้แล้วต้องใช้ให้หมดภายใน 6 ชั่วโมง โดยระหว่างนี้สามารถวางไว้ที่อุณหภูมิห้องไม่เกิน 30 องศาเซลเซียสได้ ปัจจุบันวัคซีน AstraZeneca ได้รับการอนุมัติให้ใช้ฉุกเฉินในสหภาพยุโรปและอีก 28 ประเทศ เช่น ออสเตรเลีย อินเดีย (เป็นฐานการผลิตของบริษัท แต่ใช้ชื่อ Covishield) เกาหลีใต้ และไทย (เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2564) นอกจากนี้ยังได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ให้ใช้ในภาวะฉุกเฉินด้วย ใครฉีดวัคซีน AstraZeneca ได้บ้าง คำแนะนำของกลุ่มที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (SAGE) ของ WHO เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564 ระบุว่าสามารถฉีดวัคซีน AstraZeneca ให้กับ • ผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เท่ากับว่าผู้สูงอายุสามารถรับการฉีดได้ แต่สาเหตุที่มีข่าวว่าบางประเทศในยุโรปไม่อนุมัติให้ฉีด เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างในเฟส 3 มีผู้สูงอายุเป็นสัดส่วนที่น้อย (กลุ่มอายุ 56-69 ปี 8% และ 70 ปีขึ้นไป 4%) แต่เมื่อพิจารณาจากหลักฐานเท่าที่มีอยู่ WHO ยังคงแนะนำให้ฉีดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป • ผู้ที่มีโรคประจำตัว ได้แก่ ภาวะอ้วน โรคหัวใจ โรคทางเดินหายใจ และโรคเบาหวาน ไม่ถือเป็นข้อห้ามในการรับวัคซีน และควรได้รับวัคซีนด้วยซ้ำ เพราะเป็นปัจจัยเสี่ยงต่ออาการรุนแรง ส่วนโรคประจำตัวอื่น เช่น โรคติดเชื้อไวรัสเอชไอวี โรคเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน ควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับวัคซีน • หญิงตั้งครรภ์ยังไม่มีข้อมูลการศึกษาด้านความปลอดภัยต่อทารกในครรภ์ จึงไม่แนะนำให้ฉีด ในขณะที่หญิงให้นมบุตรสามารถรับวัคซีนได้ และไม่ต้องหยุดให้นมหลังฉีดวัคซีน เพราะวัคซีนนี้ไม่ได้มีไวรัสที่แบ่งตัวได้เป็นองค์ประกอบ การแพ้วัคซีนหรือภาวะแพ้รุนแรงไม่มีรายงานในการทดลองที่ผ่านมา แต่ผู้เข้ารับวัคซีนควรได้รับการสังเกตอาการหลังฉีด 15 นาทีเหมือนกับวัคซีนชนิดอื่น (สำหรับไทยกำหนด 30 นาที) และมีการเตรียมความพร้อมทางการแพทย์สำหรับกรณีฉุกเฉิน หากมีภาวะแพ้ในการฉีดเข็มแรก ไม่ควรฉีดเข็มที่ 2 ส่วนการฉีดวัคซีนร่วมกับวัคซีนชนิดอื่น ควรเว้นระยะห่างอย่างน้อย 2 สัปดาห์ วัคซีน AstraZeneca กับประเทศไทย วัคซีน AstraZeneca เป็นวัคซีนในแผนการจัดหาวัคซีนของไทยตั้งแต่ประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน 2563 โดยอยู่ทั้งในตะกร้าการจัดหาโดยการจองวัคซีนล่วงหน้า 26 ล้านโดส และตะกร้าร่วมวิจัยและพัฒนากับต่างประเทศ โดยสนับสนุนงบประมาณให้บริษัทสยามไบโอไซเอนซ์ 600 ล้านบาท (ในขณะนั้นยังมีแผนเข้าร่วมโครงการ COVAX และตะกร้าวิจัยพัฒนาวัคซีนในประเทศ) วันที่ 12 ตุลาคม 2563 มีการลงนามหนังสือแสดงเจตจำนง (Letter of Intent) ในการผลิตและจัดสรรวัคซีนวิจัยป้องกันโควิด-19 ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข บริษัทสยามไบโอไซเอนซ์ เอสซีจี และ AstraZeneca ที่กระทรวงสาธารณสุข ก่อนจะมีพิธีลงนามในสัญญาการจัดหาวัคซีนโควิด-19 โดยการจองล่วงหน้าและสัญญาการจัดซื้อวัคซีนที่ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นประธานที่ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 สถาบันวัคซีนแห่งชาติโพสต์ชี้แจงว่าทำไมวัคซีนโควิด-19 จากบริษัท AstraZeneca จึงส่งมอบได้ช่วงกลางปี ทั้งนี้เพราะบริษัทสยามไบโอไซเอนซ์ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้ว แต่อยู่ระหว่างการผลิตวัคซีนในระดับอุตสาหกรรมทั้งหมด 5 รอบการผลิต แต่ละรอบการผลิตใช้เวลา 118 วัน ทำให้จะสามารถส่งมอบวัคซีนได้ปลายเดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือนมิถุนายน 2564 เมืองพัทยา ก้าวแรก..ที่มั่นคง ร่วมคิด ร่วมทำ อย่างมีแบบแผน 10 ปี ข้างหน้าเมืองพัทยาจะเป็นอย่างไร? เมืองพัทยา จะก้าวไปข้างหน้า..และเติบโตได้เพียงใด สำคัญที่ “การมีส่วนร่วมของประชาชนพัทยทุกคน” นับจากวันแรกที่เราได้เริ่มทำงานเพื่อดูแลรับใช้ประชาชนชาวพัทยา ในฐานะตัวแทนประชาชนชาวพัทยา วิสัยทัศน์ แนวทางการทำงานที่ยึดถือมาโดยตลอด คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน และ ความโปร่งใสในการทำงาน ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการับรู้ข้อมูล การแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเห็นชอบกับการดำเนินงานในโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่และอนาคตของเมืองพัทยา เราเคารพประชามติ..ของประชาชนชาวพัทยา เราได้นำนโยบายที่ผ่านการลงประชามติจากการเลือกตั้ง ประกาศหลักการนำพาเมืองพัทยาสู่ความสมดุล (Balanced Up) 5 หลัก 7 สร้าง 13 ยุทธศาสตร์ 14 นโยบายเร่งด่วน ด้วยกลยุทธ์การพัฒนาเมืองแนวคิดสร้างสรรค์ใหม่ เอสทูอี (City Modernization by “S” to “E” Concept) ภายใต้การจัดการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เป็นสัญญาประชาคมทำให้ไว้ต่อสภาเมืองพัทยา พนักงานเมืองพัทยา ประชาชน ผู้ประกอบการ นักธุรกิจ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2551 ทุกย่างก้าว..ต้องมีทิศทาง เมืองพัทยาได้จัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเมืองพัทยา 10 ปีอย่างเป็นระบบ นับตั้งแต่การกำหนด วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนพัฒนาเมืองพัทยา 3 ปี การกำหนดวิสัยทัศน์แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองพัทยา 5 ปี และการกำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาเมืองพัทยา 10 ปี สอดรับแนวนโยบายแห่งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อำนาจหน้าที่ของเมืองพัทยาตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ โดยนำข้อเสนอความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภาควิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคม การจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากกลุ่มผู้บริหารเมืองพัทยา (Executive Focus Group) ส่วนราชการเมืองพัทยา (Management Workshop) และประชาชนชาวพัทยา (Key Stakeholder Focus Group) ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองการบริหาร ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้เราได้รับฟังความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และการศึกษาเปรียบเทียบหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งการประเมินศักยภาพ (Capacity)ของเมืองพัทยาเป็นปัจจัยในการจัดทำแผนด้วยการร่วมคิดร่วมทำอย่างมีแบบแผน พัทยา…..เมืองท่องเที่ยวน่าอยู่ของคนทั้งโลก การพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวที่น่าอยู่ เริ่มต้นจากการพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเป็นการสร้างรากฐานที่มั่นคงแข็งแรงให้กับเมือง คุณภาพชีวิตที่ดีของชาวพัทยา และความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อต้อนรับการมาเยือนของนักท่องเที่ยว โดยต้องเพิ่มมาตรฐานให้ดีขึ้นในทุกๆ ด้าน เริ่มจากปัจจัย 4 เรื่องของอาหารการกินมีความพร้อมต่อการรองรับ มีร้านอาหารหลากหลายและรสชาติดี อาหารอร่อย สะอาดถูกสุขอนามัย ด้านการดูแลเรื่องสุขภาพมีโรงพยาบาล พร้อมทีมแพทย์และพยาบาลเพียงพอ เรื่องการศึกษาสำหรับเยาวชน ต้องมีโรงเรียนที่มีความพร้อมรองรับและมีมาตรฐาน เรื่องความปลอดภัยในการเดินทาง เรื่องระบบขนส่งมวลชน รถประจำทางที่ใช้ในการเดินทางในชีวิตประจำวัน ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ไฟฟ้า ประปา บนเกาะล้านต้องแล้วเสร็จ เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชนและรองรับการขยายตัวของภาคธุรกิจการท่องเที่ยว สิ่งเหล่านี้คือพื้นฐานที่ทำให้เมืองพัทยาเป็นเมืองน่าอยู่เป็นการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเข้ามาประกอบอาชีพ และใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองพัทยา ซึ่งความจริงแล้ว ปัจจุบันนี้นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาพัทยาก็มีให้เห็นในรูปแบบนี้ เริ่มจากมาเที่ยวแล้วมาอยู่แบบ Long stay จากนั้นเริ่มมีส่วนลงทุนทำธุรกิจ ตลอดจนเป็นเจ้าของกิจการเอง และขณะนี้ทางเมืองพัทยาก็กำลังดำเนินการตาม 14 นโยบายเร่งด่วนซึ่งครอบคลุมทุกด้านของการพัฒนาเพื่อความเป็นอยู่พื้นฐาน การที่พัทยาเป็น “เมืองท่องเที่ยวน่าอยู่” ซึ่งหมายความว่าพัทยาจะเป็นมากกว่า “เมืองท่องเที่ยว” แต่จะเป็นเมืองที่เมื่อมาเที่ยวครั้งแรกแล้วพอใจ อยากมาเที่ยวอีกและเมื่อมาเที่ยวครั้งต่อไป ก็รู้สึกว่าเมืองนี้ที่อยู่ก็ดี บ้านเมืองก็ดี ผู้คนก็ยิ้มแย้มแจ่มใส (Service Mind)เมื่อมาอยู่เป็นระยะเวลานานขึ้น ก็จะเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ ทำธุรกิจหรือค้าขายก็สามารถทำได้ จะลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ทำโรงแรม อพาร์ทเมนท์หรือคอนโดมีเนียมก็ได้ ตรงนี้ก็จะทำให้คิดว่า ควรจะย้ายมาอยู่ที่เมืองพัทยา โดยเริ่มจากการเป็นนักท่องเที่ยวแต่ต่อไปก็จะกลายเป็นพลเมืองของเมืองนี้เป้าหมายการพัฒนาเมืองพัทยาจะพัฒนาไปสู่จุดนั้น ส่วนเป้าหมายในระยะสั้น คือ การทำให้เมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเที่ยวที่เป็น 1 ใน 3 อันดับในใจของผู้ที่คิดจะเดินทางมาท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวทั่วโลก ด้วยธรรมชาติ หาดทราย หมู่เกาะ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ศูนย์กลางแห่งศิลปะ ประเพณีพื้นบ้านและวัฒนธรรมร่วมสมัย เมืองภาพยนต์ ดนตรีและกีฬา รีสอร์ท ที่พักชั้นนำหรูหรามีระดับ ศูนย์การประชุมสัมนาระดับนานาชาติ การบริการด้านสุขภาพที่ได้คุณภาพมาตรฐาน กิจกรรมชายหาดที่สนุกสนานปลอดภัย การท่องเที่ยวผจญภัยที่ตื่นเต้นท้าทาย เทศกาลและกิจกรรมระดับนานาชาติที่ต่อเนื่องตลอดทั้งปี การลิ้มลองรสชาดความอร่อยและสดของอาหารทะเล ดื่มดำและสัมผัสบรรยากาศของสีสันยามราตรี จังหวะของเสียงดนตรียามค่ำคืน เอกลักษณ์การแสดงที่สร้างสรรค์อย่างเหนือจินตนาการ เพลิดเพลินกับการจับจ่ายใช้สอย พิธีสมรสและฉลองฮันนี่มูนที่แสนโรแมนติคครบทุกเชื้อชาติ ศาสนา สำหรับนักท่องเที่ยวภายในประเทศ หากถามว่า “วันหยุดไปเที่ยวไหนดี” ก็ต้องมี “พัทยา” เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวของเมืองไทย 1 ใน 3 อันดับ ซึ่งพัทยามีศักยภาพมากพอที่จะเป็นเช่นนั้น ทั้งในฐานะสถานที่ท่องเที่ยวที่เดินทางไปมาง่ายสะดวก ปลอดภัย ราคาไม่แพงและที่สำคัญ “พัทยา” มีทุกอย่างที่คุณอยากได้ ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 800 หน่วย ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ 80 หน่วย ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนียร์คอมเพล็กซ์ทะเลเพิ่มสุข ( เมืองพัทยา ) โครงการและวิธีการบริการจัดการ คอนโดมิเนียม และซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ทะเลเพิ่มสุข การดำเนินการ โดย นายสมัย เหมมั่น กรรมการบริหารรับมอบอำนาจการจัดการ ที่ดินที่ทำการ โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ดำเนินการในโฉนดที่ดินชื่อ โครงการคอนโดมิเนียม และซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ทะเลเพิ่มสุข เพื่อผู้ยากไร้ประชาชนชาวไทยและสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการและข้าราชการวิสาหกิจ จำนวนอาคาร 11 อาคาร ต่อโครงการดังนี้ จำนวน 880 ห้อง ( 11 อาคาร ๆละ 80 ห้อง)และเสนอแผนงานการก่อสร้าง 77 จังหวัด 1.1 สำนักงาน ตึก 11 จำนวน 80 ห้อง หมายเลข 801-880 เป็น สำนักงานให้บริการ ดังนี้ ชั้นที่ 1 1. ห้องพยาบาล 30 ตารางเมตร 2. ห้องร้านสะดวกซื้อ 60 ตารางเมตร 3. ห้องธนาคาร บริการการเงิน 30 ตารางเมตร 4. ห้องประชาสัมพันธ์-การตลาด 30 ตารางเมตร 5. ห้องธุรการ-ทะเบียน 30 ตารางเมตร 6. ห้องการเงิน-การบัญชี 30 ตารางเมตร 7. ห้องกิจการสำนักงาน 30 ตารางเมตร 8. ห้องพัสดุ 30 ตารางเมตร 9. ห้องบริการต้อนรับ 30 ตารางเมตร ชั้นที่ 2 1. ห้องธุรการ-พยาบาลโรคไต 30 ตารางเมตร 2. ห้องวัสดุและอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ 30 ตารางเมตร 3. ห้องฟอกไต 210 ตารางเมตร ชั้นที่ 3 1. ห้องกรรมการบริหาร 30 ตารางเมตร 2. ห้องรองกรรมการ การเงิน 30 ตารางเมตร 3. ห้องรองกรรมการ อำนวยการ 30 ตารางเมตร 4. ห้องกรรมการ ฝ่ายปฏิบัติการ 30 ตารางเมตร 5. ห้องประชุม 90 ตารางเมตร 6. ห้องบริหารงานบุคคล 30 ตารางเมตร. 7. ห้องนันทนาการ 30 ตารางเมตร ชั้นที่ 4-8 1. ห้อง เนอส์ซิ่งโฮม 1.2 ห้องสูท แบบ B พักบริการ ตึกที่ 1 - 5 จำนวน 400 ห้อง ห้องละ 30 ตารางเมตร ห้องที่ 1-400 1.3 ห้องธรรมดา แบบ A พักบริการ ตึกที่ 6 - 10 จำนวน 400 ห้อง ห้องละ 35 ตารางเมตร ห้องที่ 401-800 2. วิธีการในปรับปรุงโครงการ คอนโดมิเนียม และ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ทะเลเพิ่มสุข ที่ดินในโครงการเดิมปรับภูมิทัศน์ ให้เหมาะสมกับการให้บริการผู้สูงอายุและ ใส่กิจกรรมผู้สูงอายุ 4 ประเภท ดังนี้ 1. กิจกรรมทางสังคม - กิจกรรมลีลาศ - กิจกรรมรำไทย - กิจกรรมร้องเพลง - กิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย - กิจกรรมไหว้พระเก้าวัด - กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - กิจกรรม วันผู้สูงอายุ 2. กิจกรรมทางสุขภาพ - กิจกรรมฟิตเนส - กิจกรรมหมากรุกสากล-ไทย - กิจกรรมนวดแผนไทย - กิจกรรมกีฬาผู้สูงวัย - กิจกรรมเต้นออกกำลังกาย - กิจกรรมธาราบำบัด - กิจกรรมกีฬาเปตอง - กิจกรรมกีฬา-ไทย-จีน 3. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ - กิจกรรมส่งเสริมรายได้-เย็บปักถักร้อยและจักสาน - กิจกรรมส่งการเรียนรู้และแชร์ประสบการณ์ - กิจกรรม งานคหะกรรม - กิจกรรมนวัตกรรมผู้สูงอายุ 4. กิจกรรมสภาพแวดล้อม - บริการลิฟต์ ผู้สูงวัย - บริการทางลาด ยูดี ผู้สูงอายุ - บริการราวจับทางเดิน ยูดี - บริการทางเดินเท้าเพื่อผู้สูงอายุ - ห้องน้ำเพื่อผู้สูงอายุ กิจกรรม บริการสาธารณะ จัดให้มีเพื่อเสริมการบริการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการที่ดี 1. บริการธนาคารรับฝาก-ถอน 2. บริการท่องเที่ยว-ไทยและนอกประเทศ 3. บริการรถรับส่งสนามบินและนอกสถานที่ 4. บริการรถและการแพทย์ ฉุกเฉิน โดย รพ.ศรีวิชัย 5. บริการคลินิก ในโครงการ 6. บริการศูนย์ไตเทียม 7. บริการร้านอาหารไทย-ต่างประเทศ 8. การบริการร้านกาแฟ 9. บริการร้านซักรีด 10. บริการร้านนวดแผนไทย 11. บริการร้านอินเตอร์เน็ต 12. บริการร้านเสื้อผ้า 13. บริการร้างหนังสือ 14. บริการร้านสะดวกซื้อ 3. จัดให้มีบริการสาธารณูปโภค 1. จัดให้มี ทางเท้าและบริการ ยูดี ทางเดิน ในอาคารทุกอาคาร 2. จัดให้มีลิฟต์ เพื่อผู้สูงอายุ ทุกตึกที่ให้บริการ 3. จัดให้มีลานกิจกรรม ในร่มจะจัดตั้งที่ถนนโครงการเพื่อทำกิจกรรมในร่มได้ 2 อาคาร 4. จัดให้มีสระน้ำในพื้นที่ส่วนกลางเพิ่มไว้บริการผู้สูงวัยไว้ผ่อนคลาย 5. จัดให้มีลานกีฬาผู้สูงอายุ เช่นเปตอง ลานลีลาศ 6. จัดให้มีป้ายและป้อมรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง 7. จัดให้มีที่ตั้งสำนักงานอาคารประสานงานโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ 8. จัดหาพื้นที่ทำกิจกรรมให้ครบในสี่ประเภท ในโครงการเท่าสำคัญๆ 9. บริการจัดเก็บพร้อมคิดค่าบริการการจัดเก็บในค่าบริการรายเดือน 10. บริการ รักษาความปลอดภัยระบบคีย์การ์ดระบบตรวจเข้าออกของแต่ละอาคาร 11. บริการพนักงานดูแลอำนวยความสะดวกทั่วไปและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในอัตรา1-10 ทุกชั้นทุกตึก 24 ชั่วโมง 4. การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล บริการจัดเก็บโดย ทางโครงการจะจัดเก็บพร้อมจัดหาให้สมาชิกได้รับความสะดวกและให้ทางนิติบุคคลรับผิดชอบต่อไป โดยทางสมาชิกเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน 5. จัดให้มีบริการสาธารณะ 5.1 จัดให้มี รปภ.บริการ 24 ชั่วโมง ตามสมควร 5.2 จัดให้มีกล้องและทีวีวงจรปิดบริการเพื่อความปลอดภัย 5.3 การกระจ่ายกระแสไฟฟ้า-น้ำประปา จัดให้มีการจ่ายกระแสไฟฟ้า-น้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง 5.4 จัดให้มีพนักงานประจำโครงการบริการ ตามความเหมาะสม 5.5 จัดให้อาคารสระว่ายน้ำ 5.6 จัดให้มีพนักงานจัดเก็บขยะในโครงการ 5.7 ในการให้บริการต่างๆบริษัทมีความจำเป็นต้องคิดค่าบริการในการให้บริการในส่วนนี้ เป็นรายเดือน 6. แผนงานโครงการและระยะเวลาการบำรุงรักษา สาธารณูปโภค 1. บริษัท ฯโดยจัดหา ช่างและวิศวกรที่มีความชำนาญในการตรวจเช็คในการใช้บำรุงประจำปี 2. บริษัทฯจะตรวจเช็คและปรับปรุงภูมิทัศน์ทุกๆ 3 ปีและตามความเหมาะสมแก่ความจำเป็น 7. วิธีการจำหน่ายบัตรสมาชิกแรกเข้าและให้บริการห้องพัก มีค่าส่วนกลางตามตารางแนบท้าย บริษัทฯ จะจำหน่ายบัตรสมาชิกแรกเข้าพร้อมห้องพักที่ พื้นที่ 30 ตรม.ดังนี้ บัตรสมาชิก แบบ B ห้องสูท 400 ห้องจำนวน 800 ราย - ค่าห้อง 1.7 ล้าน ถึง 3,500,000 บาท - ค่าบริการตลอดชีพ 150,000 ต่อราย 1. บัตรสมาชิก แบบA ห้องธรรมดา 400 ห้องจำนวน 800 ราย - ค่าห้องเริ่มที่ 1,500,000 บาท - ค่าบริการ 10 ปี 150,000 2. บัตรสมาชิกบริการฟรี ห้องรวมพักฟื้นจำนวน 100 ราย - ค่าบัตรแรกเข้า สำหรับผู้มีความพร้อมและเป็นสมาชิก 250,000 - ค่าบริการ รายเดือนสำหรับผู้มีความพร้อมและเป็นสมาชิก 12,000 8. กำหนด เวลาการเริ่มดำเนินการและกำหนดแล้วเสร็จ ดังนี้ บริษัทฯจะปรับปรุงให้แล้วเสร็จในระยะเวลาการทำงานในเวลา 2 ปี นับจากได้รับอนุญาตประกอบการและการสนับสนุนโครงการในภาครัฐของกรมกิจการผู้สูงอายุ 9. สัญญาจะซื้อจะขาย จะปฏิบัติตามเงื่อนไขของ กรมกิจการผู้สูงอายุเป็นหลักในการปฏิบัติ ลงชื่อผู้ ดร.สมัย เหมมั่น ขออนุญาตฯ ประธานโครงการ ความหมายของสหกรณ์ สหกรณ์ คือ “ องค์การของบรรดาบุคคล ซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในการดำเนินวิสาหกิจที่พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมกัน และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย เพื่อสนองความต้องการ ( อันจำเป็น ) และความหวังร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” “สหกรณ์” ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดำเนินกิจการเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 ดังนั้น สหกรณ์จึงตั้งขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่แก้ปัญหาในด้านการทำมาหากินที่เหมือน หรือคล้ายๆ กัน หรือความต้องการบริการที่เหมือนกันและเป็นปัญหาที่สมาชิกแต่ละคนไม่สามารถ แก้เองได้ตามลำพัง หรือตั้งขึ้นมาเพื่อดำเนินการ ให้สมาชิกได้รับประโยชน์ในการประกอบอาชีพของตนมากกว่าที่แต่ละคนเคยได้จาก การดำเนินกิจการเองตามลำพัง ความสำคัญของสหกรณ์ 1. เป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจเกือบทุกด้าน เริ่มตั้งแต่การผลิต การจำหน่าย และการบริโภค ถ้าหากสามารถทำให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพแล้ว จะเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่กำลังพัฒนา หรือด้อยพัฒนา เพราะ สหกรณ์มีบทบาทในการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนอย่างยุติธรรม ช่วยตัดพ่อค้าคนกลาง และนายทุนออกไป 2. เป็นการรวมแรง รวมปัญญา รวมทุน ของบุคคลที่อ่อนแอทางเศรษฐกิจ การดำเนินการเป็นแบบประชาธิปไตย 3. ยึดหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ มีความเสมอภาค และมีความสามารถในการดำเนินการและสิทธิผลประโยชน์ยึดหลักการประหยัด โดยส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดและออมเงิน โดยให้บริการรับฝากเงิน การซื้อสินค้า และได้รับเงินออมคืนในรูปเงินปันผล 4. ช่วยสร้างความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เมื่อบุคคลมารวมกันจัดตั้งสหกรณ์ขึ้น มีการรวมแรง รวมทุน รวมปัญญา ดำเนินกิจกรรมเอง โดยตัดพ่อค้าคนกลางออก เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ ทำให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการกินดีอยู่ดี ฐานะความเป็นอยู่ของคนกลุ่มนั้นก็เจริญขึ้น มีการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สังคมมีระเบียบ อาชญากรรมก็ไม่เกิดขึ้น จากบทสรุปดังกล่าวแล้วจะเห็นว่าสหกรณ์มีบทบาทสำคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติทั้ง ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง และในแง่ของสมาชิกรายบุคคล และสำหรับประชาชนส่วนรวมดังนี้ คือ 1. ความสำคัญต่อสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าสหกรณ์เป็นขุมทรัพย์ทางด้านเศรษฐกิจของสมาชิก ทำให้สมาชิกที่ขัดสนยากจนหลุดพ้นจากสภาพหนี้ได้ คือ เศรษฐกิจของสมาชิกที่ฝืดเคืองมาก่อน มีโอกาสกลับกลายเป็นสภาพเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตก้าวหน้าได้ 2. ความสำคัญต่อเศรษฐกิจส่วนรวม ระบบสหกรณ์มุ่งส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละคนให้เจริญเติบโต ขึ้น เพราะระบบสหกรณ์เป็นที่รวมของส่วนดีของระบบทุนนิยม และสังคมนิยมไว้ โดยมุ่งที่จะผลิตเศรษฐทรัพย์และความมั่นคงให้ประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติสูงขึ้น และยังนำเอาความเสมอภาคและเสรีภาพเข้ามาใช้เพื่อรักษาธรรมชาติของมนุษย์ ให้ปลูกฝังความรู้ ความสามารถทางเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองระบอบประชาธิปไตย ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ ไม่ชอบความรุนแรง แต่ดำเนินการโดยใช้ สายกลาง เป็นหลัก อุดมการณ์สหกรณ์ อุดมการณ์ของสหกรณ์ คือ “ความเชื่อร่วมกันที่ว่าการช่วยตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์ซึ่งจะนำไปสู่การกินดี อยู่ดี มีความเป็นธรรม และสันติสุขในสังคม” ที่มา http://webhost.cpd.go.th/rlo/knowledge.html กลุ่มเป้าหมายของการตลาดโครงการ ประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 ระบุว่าสหกรณ์ มี 2 ชนิด ดังนี้ 1) สหกรณ์จำกัดคือ สหกรณ์ที่สมาชิกมีความรับผิดชอบจำกัดเพียงไม่เกินจำนวนค่าหุ้นที่ยังใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ 2) สหกรณ์ไม่จำกัดคือ สหกรณ์ซึ่งสมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบร่วมกันในหนี้ทั้งปวงของสหกรณ์โดยไม่จำกัด แม้ว่ากฎหมายระบุให้สหกรณ์มี 2 ชนิด แต่ในทางปฏิบัติสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศมีความแตกต่างกันในเรื่อง ประเภทของบริการที่ให้แก่สมาชิก ดังนั้นจึงนิยมจำแนกสหกรณ์ออกเป็น 2 ภาค และ 7 ประเภท ดังนี้ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรมี 3 ประเภท ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรมี 4 ประเภท ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์บริการ สหกรณ์ร้านค้า และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1. สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การเกษตร คือ สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในหมู่ผู้มีอาชีพทางการเกษตร รวมกันจัด ตั้งขึ้นและจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่อนายทะเบียนสหกรณ์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สมาชิกดำเนินกิจการร่วมกันและช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนในการประกอบอาชีพของสมาชิกและช่วยยกฐานะความเป็น อยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์การเกษตรแห่งแรกได้จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2459 ชื่อว่า สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้ ในจังหวัดพิษณุโลก เป็นสหกรณ์ การเกษตรชนิดไม่จำกัดมีขนาดเล็กในระดับหมู่บ้านตั้งขึ้นในหมู่เกษตรกรที่มี รายได้ต่ำและมีหนี้สินมากมีสมาชิกแรกตั้ง จำนวน 16 คน ทุนดำเนินงาน จำนวน 3,080 บาท เป็นค่าธรรมเนียมแรกเข้า จำนวน 80 บาท และเป็นทุนจากการกู้แบงก์สยามกัมมาจล (ธนาคารไทยพาณิชย์ในปัจจุบัน) จำนวน 3,000 บาท 1.2สหกรณ์การเกษตรในปัจจุบัน สหกรณ์การเกษตรปัจจุบันมีจำนวน 3,885 แห่งทั่วประเทศ เช่น สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี สหกรณ์การเกษตรเมืองสุพรรณบุรี สหกรณ์การเกษตรท่าวังผา จังหวัดน่าน 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การเกษตรดำเนินธุรกิจแบบอเนกประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกดำเนิน ธุรกิจร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันและช่วยเหลือส่วนรวมโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมอันดีงามตามพื้นฐานของมนุษย์เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิกและส่วน รวมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมตามที่กำหนดไว้ในข้อ บังคับของสหกรณ์ ดังนี้ (1) ให้บริการสินเชื่อเพื่อการเกษตรในอัตราดอกเบี้ยต่ำ และรับฝากเงินจากสมาชิก (2) จัดหาวัสดุการเกษตร เช่น ปุ๋ย ยาฆาแมลง และเมล็ดพันธุ์พืชมาจำหน่าย (3) จัดหาตลาดเพื่อจำหน่ายผลผลิต โดยไม่ต้องพึ่งพาพ่อค้าคนกลาง (4) ส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการเกษตรแผนใหม่ (5) ให้การศึกษา อบรม และทัศนศึกษาดูงาน เกี่ยวกับกิจการสหกรณ์แก่สมาชิก 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ ทำให้สมาชิกมีปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นจากการกู้เงินสหกรณ์ในอัตราดอกเบี้ย ต่ำมาประกอบอาชีพทำให้มีที่ดินทำกินเป็นของตนเองหรือมีที่ดินทำกินมากกว่า เดิมทั้งใด้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในการผลิต ตั้งแต่การใช้พันธุ์พืชพันธุ์สัตว์ การใช้ปุ๋ย การใช้ยาปราบศัตรูพืชการเก็บรักษาผลผลิตอย่างมีคุณภาพผลิตผลที่ได้จึงเป็นไป ตามความต้องการของตลาดส่งผลให้สหกรณ์และบุคคลในครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมการศึกษา และการอนามัย 2. สหกรณ์ประมง สหกรณ์ประมงเป็นสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในหมู่ชาวประมง เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการประกอบอาชีพซึ่งชาวประมงแต่ละคนไม่สามารถ แก้ไขให้ลุล่วงไปได้ตามลำพัง บุคคลเหล่านี้จึงรวมกันโดยยึดหลักการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์ประมงแห่งแรกได้จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2492 ชื่อว่าสหกรณ์ประมงพิษณุโลกจำกัด ในท้องที่ลำคลองกระบังโป่งนก อำเภอพรหมพิรามจังหวัดพิษณุโลก เป็นสหกรณ์ประมงประเภทน้ำจืด มีสมาชิกแรกตั้ง จำนวน 54 คนดำเนินการจัดสรรที่ทำกิน การจำหน่าย การแปรรูปและขออนุญาตสัมปทานให้สมาชิกจับสัตว์น้ำได้โดยสะดวก 1.2สหกรณ์ประมงในปัจจุบัน สหกรณ์การประมงในปัจจุบันมีทั้งประมงน้ำจืดและประมงทางทะเล มีมากกว่า 85 แห่ง เช่น สหกรณ์ประมงแม่กลอง สหกรณ์ปลาสวยงามแห่งสยาม สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งแห่งประเทศไทย สหกรณ์ประมงอนุรักษ์เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ประมง (1) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์การทำประมง และอื่น ๆ มาจำหน่ายให้แก่สมาชิก (2) จัดหาตลาด หรือจัดจำหน่ายสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำต่าง ๆ ของสมาชิกให้แก่ประชาชนผู้บริโภคในราคายุติธรรม (3) จัดหาเงินกู้ให้สมาชิกกู้ไปลงทุนประกอบอาชีพ และรับฝากเงินจากสมาชิก (4) ให้การสงเคราะห์สมาชิกและครอบครัวที่ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ (5) ให้บริการความรู้ทางวิชาการและธุรกิจการประมงแก่สมาชิก เช่น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การแปรรูปผลผลิต และการนำเทคโนโลยีการจับสัตว์น้ำที่ทันสมัยมาใช้ ฯลฯ 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ ทำให้สมาชิกมีแหล่งเงินกู้ที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำมาลงทุนประกอบอาชีพซื้อ วัสดุอุปกรณ์และสิ่งของจำเป็นที่สหกรณ์นำมาจำหน่ายในราคาที่เป็นธรรมเมื่อมี ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์สหกรณ์จะรวบรวมขายให้ในราคาที่สูงขึ้นบริการรับฝากเงิน เพื่อความสะดวก ปลอดภัยให้แก่สมาชิกและสมาชิกจะได้รับการศึกษาอบรมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การประมงตามหลักวิชาการแผนใหม่ให้สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและปริมาณตรง กับความต้องการของตลาดรวมถึงสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของทุกคนตามหลักการและวิธีการสหกรณ์ 3. สหกรณ์นิคม สหกรณ์นิคม คือ สหกรณ์การเกษตรในรูปแบบหนึ่ง ที่มีหน้าที่ดำเนินการจัดสรรที่ดินทำกินให้ราษฎร การจัดสร้างปัจจัยพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกให้ผู้ที่อยู่อาศัยควบคู่ไป กับการดำเนินการจัดหาสินเชื่อ ปัจจัยการผลิตและสิ่งของที่จำเป็น การแปรรูปการเกษตร การส่งเสริมอาชีพ รวมทั้งกิจการให้บริการสาธารณูปโภคแก่สมาชิก 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์นิคมได้เริ่มดำเนินงานเป็นแห่งแรกที่อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยดำเนินการจัดซื้อที่นาราชพัสดุ จากกระทรวงการคลัง เนื้อที่ 4,109 ไร่เศษมาจัดสรรให้สมาชิก 69 ครอบครัวในรูปของสหกรณ์การเช่าซื้อที่ดิน ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ได้จัดตั้งนิคมสหกรณ์ในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อที่ 7,913 ไร่และได้จัดสหกรณ์การเช่าที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติที่เสื่อมสภาพแล้วที่ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อปี พ.ศ. 2518 1.2สหกรณ์นิคมในปัจจุบัน สหกรณ์นิคมในปัจจุบัน มีจำนวน 91 แห่ง สหกรณ์นิคมสมุทรสาคร สหกรณ์นิคมสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์นิคมท่าแซะ จังหวัดชุมพร และสหกรณ์นิคมทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์นิคม (1) การจัดนิคม หมายถึง จัดหาที่ดินมาจัดสรรให้แก่ราษฎรเพื่อประกอบอาชีพทางการเกษตร และจัดให้มีบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานที่จำเป็นแก่ผู้เข้าอยู่อาศัย ที่ดินที่นำมาจัดดำเนินการส่วนใหญ่เป็นป่าเสื่อมโทรม หรือที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลัง (2) การจัดสหกรณ์ คือ รวบรวมสมาชิกที่เข้ามาอยู่อาศัยในนิคมหรือในที่ดินจัดสรรแห่งนั้นให้ร่วมก่อ ตั้งสหกรณ์ โดยดำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับสหกรณ์การเกษตรทุกอย่าง เช่น หาแหล่งสินเชื่อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือการเกษตรมาจำหน่าย รวมทั้งหาตลาดรับซื้อผลผลิตให้แก่สมาชิก เป็นต้น 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ ทำให้สมาชิกสหกรณ์มีสหกรณ์เป็นสถาบันที่เป็นสื่อกลางในการขอรับบริการ ต่างๆจากรัฐบาล และเป็นสถาบันที่อำนวยความสะดวกในด้านการจัดหาสินเชื่อ การรวมกันซื้อรวมกันขาย การส่งเสริมการเกษตรและการฝึกอบรมซึ่งเป็นการเสริมสร้างให้เกิดระบบที่ดีใน การจัดหาการผลิ 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ออมทรัพย์เป็นสถาบันการเงินรูปแบบหนึ่ง เกิดจากการรวมตัวจัดตั้งโดยกลุ่มบุคคลซึ่งมีอาชีพเดียวกันหรืออยู่อาศัยใน ชุมชนเดียวกัน เช่น หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงงาน สถานศึกษา และชุมชนต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก และช่วยเหลือสมาชิกให้มีแหล่งกู้เงินเมื่อถึงคราวจำเป็น 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์ออมทรัพย์แห่งแรกในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นในหมู่ข้าราชการสหกรณ์และพนักงานธนาคารเพื่อการสหกรณ์จดทะเบียน เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2492 ชื่อว่า “สหกรณ์ข้าราชการสหกรณ์ จำกัดสินใช้” และได้แพร่หลายไปในหน่วยงานของรัฐและเอกชนทั่วประเทศ ส่วนสหกรณ์ออมทรัพย์ในชุมชนแห่งแรก คือ “สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแม่มูล จำกัด” จดทะเบียนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2522 1.2สหกรณ์ออมทรัพย์ในปัจจุบัน สหกรณ์ออมทรัพย์ในปัจจุบันมีจำนวน 1,370 แห่งทั่วประเทศ ส่วนใหญ่จัดตั้งในหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือด้านสวัสดิการแก่ข้าราชการและพนักงาน เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสุราษฎร์ธานี สหกรณ์ออมทรัพย์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ (1) ส่งเสริมการออมทรัพย์ สมาชิกจะออมทรัพย์กับสหกรณ์ได้ 2 วิธี ดังนี้ Ø การซื้อหุ้นอย่างน้อย 1 หุ้น แต่ต้องไม่เกินกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด เมื่อถึงสิ้นปีผู้ถือหุ้นจะได้รับเงินปันผลในอัตราที่กฎหมายกำหนด Ø การฝากเงิน โดยได้รับผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยเป็นอัตราเดียวกับธนาคารพาณิชย์หรือสูงกว่า (2) การให้บริการเงินกู้ สหกรณ์ออมทรัพย์จะนำเงินค่าหุ้นและเงินฝากของสมาชิกมาหมุนเวียนให้สมาชิกที่ มีความจำเป็นกู้ยืม โดยคิดอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่ากู้จากเอกชน 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ เป็นแหล่งเงินฝากและเงินกู้ของสมาชิก ทำให้สมาชิกรู้จักการเก็บออมเงิน และไม่ต้องไปกู้เงินนอกระบบ ทำให้สถาบันครอบครัวมั่นคงขึ้น 5. สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ร้านค้า คือ สหกรณ์ที่มีผู้บริโภครวมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อจัดหาสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค มาจำหน่ายแก่สมาชิกและบุคคลทั่วไปโดยจดทะเบียนตามกฎหมายสหกรณ์ในประเภท สหกรณ์ร้านค้ามีสภาพเป็นนิติบุคคลซึ่งสมาชิกผู้ถือหุ้นทุกคนเป็นเจ้าของ สมาชิกลงทุนร่วมกันในสหกรณ์ด้วยความสมัครใจเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนในการ ซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคและเพื่อผดุงฐานะทางเศรษฐกิจของตนและหมู่คณะ 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์ร้านค้า จัดตั้งขึ้นโดยชาวชนบท อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปีพ.ศ.2480 และได้เลิกล้มไป ต่อมารัฐบาลได้ช่วยเหลือ มีนโยบายที่จะช่วยเหลือด้านการครองชีพให้กับประชาชน โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้งสหกรณ์ร้านค้าขึ้น ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งสหกรณ์ร้านค้าที่ตั้งขึ้นในเมืองที่ประชาชนหนาแน่นจะประสบความสำเร็จ มากกว่าสหกรณ์ร้านค้าที่ตั้งในชนบท 1.2สหกรณ์ร้านค้าในปัจจุบัน สหกรณ์ร้านค้าในปัจจุบันมีจำนวน 227 แห่งทั่วประเทศ เช่น ร้านสหกรณ์วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี จำกัด และร้านสหกรณ์กรุงเทพ จำกัด กรุงเทพมหานคร เป็นต้น 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ร้านค้า (1) จัดหาสินค้า อาหาร หรือสิ่งของเครื่องใช้ที่สมาชิกต้องการมาจำหน่าย โดยเน้นคุณภาพและมีราคาไม่แพงกว่าท้องตลาด (2) ช่วยจำหน่ายผลผลิตของสมาชิก โดยแบ่งผลกำไรให้ทั้งสองฝ่ายตามข้อกำหนด (3) เผยแพร่ให้ความรู้ด้านการค้าและการสหกรณ์แก่สมาชิก 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ ทำให้สมาชิกมีสถานที่ซื้อขายสินค้าจำเป็นตามราคาตลาดในชุมชน ซึ่งเป็นสินค้าที่ดีมีคุณภาพ เที่ยงตรงในการชั่ง ตวง วัด ตามความต้องการของสมาขิกเมื่อสิ้นปีสหกรณ์มีกำไรสุทธิประจำปี สมาชิกจะได้รับเงินปันผลตามหุ้นและเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนที่ได้ทำธุรกิจกับ สหกรณ์ การซื้อขายด้วยเงินสดสินค้าจะมีราคาที่ถูกกว่าเงินผ่อนทำให้สมาชิกมีความ รอบคอบในการจัดหาสินค้าราคาถูกมาจำหน่ายเพื่อประโยชน์ของสมาชิก 6. สหกรณ์บริการ สหกรณ์บริการเป็นสหกรณ์ที่เกิดจากการรวมตัวของประชาชนที่มีอาชีพเดียวกัน ไม่น้อยกว่า 10 คนขึ้นไป ซึ่งได้รับความเดือดร้อนจากการประกอบอาชีพ จัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และมุ่งให้เกิดความมั่นคงในรายได้ เช่น สหกรณ์รถแท็กซี่ สหกรณ์นักเขียน สหกรณ์ผู้ผลิตและค้าน้ำแข็ง ฯลฯ 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์บริการแห่งแรกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2484 เป็นการรวมตัวกันของผู้มีอาชีพทำร่ม ชื่อ “สหกรณ์ผู้ทำร่มบ่อสร้าง จำกัดสินใช้” อยู่ที่ตำบลตันเปา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2496 ได้มีการจัดตั้งสหกรณ์บริการไฟฟ้าหนองแขม จำกัด กรุงเทพมหานคร เป็นสหกรณ์ที่ให้บริการสาธารณูปโภค และในปี พ.ศ. 2497 จัดตั้งสหกรณ์มีดอรัญญิก จำกัด ที่ตำบลทุ่งช้าง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1.2สหกรณ์บริการในปัจจุบัน สหกรณ์บริการในปัจจุบันมีจำนวน 866 แห่ง เช่น สหกรณ์รถแท็กซี่รวมมิตร จำกัด สหกรณ์ภูตะวัน – ปากช่อง สหกรณ์บริการอาสาสมัครสาธารณสุขชัยภูมิ เป็นต้น 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์บริการ (1) ให้บริการด้านการประกอบอาชีพตามประเภทธุรกิจที่ได้จัดตั้งขึ้น (2) จัดหาอุปกรณ์และสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพมาจำหน่ายให้แก่สมาชิกในราคายุติธรรม (3) รับฝากเงิน ให้สมาชิกกู้เงิน และส่งเสริมด้านสวัสดิการต่าง ๆ แก่สมาชิก (4) ช่วยเหลือสมาชิกด้านกฎหมายและคดีความต่าง ๆ 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ สมาชิกมีสหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาฝีมือการผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาด มีแหล่งรวมซื้อรวมขายผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ในการผลิต ช่วยให้สมาชิกสหกรณ์ประกอบอาชีพได้ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อสิ้นปีถ้าสหกรณ์มีกำไรสุทธิประจำปี สมาชิกสหกรณ์จะได้รับเงินปันผลตามหุ้น และเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนที่ทำธุรกิจ 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเป็นสหกรณ์อเนกประสงค์ตั้งขึ้นโดยความสมัครใจของ สมาชิกที่อยู่ในวงสัมพันธ์เดียวกัน เช่นอาศัยในชุมชนเดียวกัน ประกอบอาชีพเดียวกัน หรือในสถานที่เดียวกันหรือมีกิจกรรมร่วมกันเพื่อการรู้จักช่วยเหลือตน เองอย่างต่อเนื่องโดยมุ่งเน้นให้สมาชิกประหยัดและออมเพื่อการรู้จักช่วยตน เองเป็นเบื้องต้นและเป็นพื้นฐานในการสร้างความมั่นคงแก่ตนเองและครอบครัว 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในประเทศไทยได้เริ่มจัดตั้งกลุ่มขึ้นแห่งแรกเมื่อ วันที่ 25 กรกฎาคม 2508 คือ “ กลุ่มเครดิตยูเนี่ยนแห่งศูนย์กลางเทวา ”กรุงเทพมหานคร และได้แพร่ขยายการจัดตั้งสหกรณ์และกลุ่มเครดิตยูเนี่ยนทั่วประเทศไทยขึ้น เป็นจำนวนมากภายใต้ปรัชญาและอุดมการณ์สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่มุ่งจะพัฒนาคน ให้ช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการและวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งเพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง 1.2สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในปัจจุบัน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในปัจจุบันมีจำนวน 344 แห่ง ทั่วประเทศ เช่น สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนกลุ่มไทยสมุทร สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น ฯลฯ 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน (1) รับฝากเงินเพื่อส่งเสริมการประหยัดและเก็บออม (2) ให้กู้เงิน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาทางการเงินของสมาชิกโดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่เป็นธรรม (3) จัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชน เพื่อนำเงินไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของชุมชน เป็นการฝึกให้ผู้นำชุมชนและสมาชิกมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนร่วมกัน (4) ให้บริการในรูปแบบต่าง ๆ ตามความต้องการของสมาชิกและกำลังเงินทุนของสหกรณ์ เพื่อเป็นสวัสดิการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความมั่นคงแก่สมาชิกและ ครอบครัว เช่น จัดรถรับส่งหน้าปากซอยทางเข้าหมู่บ้าน จัดเวรยามรักษาความปลอดภัย และจัดสถานที่รับเลี้ยงเด็กอ่อนวัยทารก เป็นต้น 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ (1) เป็นคนรู้จักประหยัดและออม สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจัดตั้งในชุมนุมของสมาชิก สมาชิกของสหกรณ์จึงมีที่สะสมเงินที่สะดวกและรวดเร็วไม่ต้องเสียเวลาในการ เดินทางไปฝากเงินที่ไกลๆ แม้มีเงินจำนวนน้อยหรือมากก็ตาม สมาชิกก็สามารถที่จะสะสมได้ (2) ช่วยแก้ไขปัญหาการเงินเมื่อสมาชิกมีความเดือดร้อนหรือความจำเป็นที่จะต้อง ใช้จ่ายเงินสมาชิกมีสิทธิที่จะขอกู้เงินจากสหกรณ์ได้ในอัตราดอกเบี้ยที่เป็น ธรรม (3)สร้างความมั่นคงแก่สมาชิกและครอบครัวสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแต่ละแห่งจะ จัดให้มีบริการในรูปแบบต่างๆแล้วแต่ความต้องการของสมาชิกและเงินทุนที่ สหกรณ์มีอยู่ซึ่งมีส่วนสร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นแก่ครอบครัวและสมาชิก (4) สามารถพัฒนาชุมชนและสังคม กิจกรรมของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนช่วยให้ประชาชนในชุมชนเกิดการประหยัดและออม เพื่อสร้างกองทุนขึ้นในชุมชน เพื่อช่วยเหลือบำบัดความทุกข์ร้อนที่เกิดขึ้น เพื่อให้รู้จักการแก้ไขและตัดสินใจช่วยเหลือกันในชุมชนของตนเอง เป็นการฝึกผู้นำในชุมชน 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเป็นสหกรณ์อเนกประสงค์ตั้งขึ้นโดยความสมัครใจของ สมาชิกที่อยู่ในวงสัมพันธ์เดียวกัน เช่นอาศัยในชุมชนเดียวกัน ประกอบอาชีพเดียวกัน หรือในสถานที่เดียวกันหรือมีกิจกรรมร่วมกันเพื่อการรู้จักช่วยเหลือตน เองอย่างต่อเนื่องโดยมุ่งเน้นให้สมาชิกประหยัดและออมเพื่อการรู้จักช่วยตน เองเป็นเบื้องต้นและเป็นพื้นฐานในการสร้างความมั่นคงแก่ตนเองและครอบครัว 1.1 ความเป็นมา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในประเทศไทยได้เริ่มจัดตั้งกลุ่มขึ้นแห่งแรกเมื่อ วันที่ 25 กรกฎาคม 2508 คือ “ กลุ่มเครดิตยูเนี่ยนแห่งศูนย์กลางเทวา ”กรุงเทพมหานคร และได้แพร่ ขยายการจัดตั้งสหกรณ์และกลุ่มเครดิตยูเนี่ยนทั่วประเทศไทยขึ้น เป็นจำนวนมากภายใต้ปรัชญาและอุดมการณ์สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่มุ่งจะพัฒนาคน ให้ช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการและวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งเพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง 1.2สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในปัจจุบัน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในปัจจุบันมีจำนวน 344 แห่ง ทั่วประเทศ เช่น สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนกลุ่มไทยสมุทร สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น ฯลฯ 1.3วัตถุประสงค์ของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน (1) รับฝากเงินเพื่อส่งเสริมการประหยัดและเก็บออม (2) ให้กู้เงิน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาทางการเงินของสมาชิกโดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่เป็นธรรม (3) จัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชน เพื่อนำเงินไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของชุมชน เป็นการฝึกให้ผู้นำชุมชนและสมาชิกมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนร่วมกัน (4) ให้บริการในรูปแบบต่าง ๆ ตามความต้องการของสมาชิกและกำลังเงินทุนของสหกรณ์ เพื่อเป็นสวัสดิการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความมั่นคงแก่สมาชิกและ ครอบครัว เช่น จัดรถรับส่งหน้าปากซอยทางเข้าหมู่บ้าน จัดเวรยามรักษาความปลอดภัย และจัดสถานที่รับเลี้ยงเด็กอ่อนวัยทารก เป็นต้น 1.4 ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ (1) เป็นคนรู้จักประหยัดและออม สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจัดตั้งในชุมนุมของสมาชิก สมาชิกของสหกรณ์จึงมีที่สะสมเงินที่สะดวกและรวดเร็วไม่ต้องเสียเวลาในการ เดินทางไปฝากเงินที่ไกลๆ แม้มีเงินจำนวนน้อยหรือมากก็ตาม สมาชิกก็สามารถที่จะสะสมได้ (2) ช่วยแก้ไขปัญหาการเงินเมื่อสมาชิกมีความเดือดร้อนหรือความจำเป็นที่จะต้อง ใช้จ่ายเงินสมาชิกมีสิทธิที่จะขอกู้เงินจากสหกรณ์ได้ในอัตราดอกเบี้ยที่เป็น ธรรม (3)สร้างความมั่นคงแก่สมาชิกและครอบครัวสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแต่ละแห่งจะ จัดให้มีบริการในรูปแบบต่างๆแล้วแต่ความต้องการของสมาชิกและเงินทุนที่ สหกรณ์มีอยู่ซึ่งมีส่วนสร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นแก่ครอบครัวและสมาชิก (4) สามารถพัฒนาชุมชนและสังคม กิจกรรมของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนช่วยให้ประชาชนในชุมชนเกิดการประหยัดและออม เพื่อสร้างกองทุนขึ้นในชุมชน เพื่อช่วยเหลือบำบัดความทุกข์ร้อนที่เกิดขึ้น เพื่อให้รู้จักการแก้ไขและตัดสินใจช่วยเหลือกันในชุมชนของตนเอง เป็นการฝึกผู้นำในชุมชน การดำเนินการขอจัดตั้งสหกรณ์ ในการจัดตั้งสหกรณ์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสหกรณ์แต่ละประเภท สามารถดำเนินการจัดตั้งสหกรณ์ตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขอคำแนะนำจากสหกรณ์จังหวัดหรือสหกรณ์อำเภอ คณะบุคคลซึ่งประสงค์จะจัดตั้งสหกรณ์ควรมีตัวแทนในการประสานงานกับสหกรณ์ จังหวัดหรือสหกรณ์อำเภอ เพื่อให้ได้แนวคิดว่า ควรจัดตั้งสหกรณ์หรือไม่ และควรเป็นสหกรณ์ประเภทใด พร้อมคำแนะนำการดำเนินการตามขั้นตอน ต่าง ๆ ด้วย ขั้นตอนที่ 2ประชุมผู้ซึ่งประสงค์จะเป็นสมาชิกเพื่อคัดเลือกผู้ขอจัดตั้งสหกรณ์จำนวน 10 – 15 คน ให้การศึกษาอบรมให้เข้าใจหลักการและวิธีการของสหกรณ์ ร่างกฎข้อบังคับ กำหนดแผนการดำเนินงาน ฯลฯ ขั้นตอนที่ 3ประชุมคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ซึ่งได้รับการคัดเลือกจากขั้นตอนที่ 2 เพื่อเลือกประเภทสหกรณ์ กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดระยะเวลาในการรวบรวมใบสมัคร กำหนดแผนการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ พิจารณาร่างข้อบังคับสหกรณ์ เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ซึ่งเป็นสมาชิกพิจารณา ขั้นตอนที่ 4 ประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกเพื่อพิจารณากำหนดข้อบังคับสหกรณ์ แจ้งประเภทและวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ แจ้งแผนการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 5 ยื่นเรื่องขอจดทะเบียนสหกรณ์คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ต้องจัดทำเอกสารต่าง ๆ และยื่นขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ โดยยื่นเอกสารได้ที่สำนักงานสหกรณ์อำเภอหรือสหกรณ์จังหวัด ประวัติความเป็นมา ประวัติสหกรณ์ออมทรัพย์การประปาส่วนภูมิภาค จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์การประปาส่วนภูมิภาคจำกัด เกิดขึ้นจากการที่พนักงานและลูกจ้างประจำของการประปาส่วนภูมิภาคร่วมกันจัดตั้งเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2523 และได้ จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 หมายเลขทะเบียนสหกรณ์ เลขที่ กพธ.78/2523 โดยเมื่อแรกจัดตั้งมีจำนวนสมาชิก 103 คน มีทุนเมื่อแรกตั้งทั้งสิ้น 19,260.-บาท โดยใช้ชื่อว่า "สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานการประปาส่วนภูมิภาค จำกัด" ใช้ชื่อย่อว่า "สอ.กปภ." ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2544 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "สหกรณ์ออมทรัพย์การประปาส่วนภูมิภาค จำกัด" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก โดยส่งเสริมให้สมาชิกออมเงินโดยการถือหุ้นจากสมาชิก ให้สมาชิกกู้ตามความจำเป็น และจัดสวัสดิการด้านต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่สมาชิก กองทุนเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพของสหกรณ์ โดยเห็นสมควรจัดให้เงินสามัญมีกองทุนเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพของสหกรณ์ ไว้ช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกผู้ค ้าประกันที่ต้องรับภาระหนี้ กรณีผู้กู้ขาดจากสมาชิกภาพ หรือถูกให้ออกจากสหกรณ์ และไม่สามารถช าระหนี้ที่เหลืออยู่ได้ (1) สมาชิกผู้กู้เงินประเภทสามัญที่ใช้บุคคลค ้าประกันทุกราย ต้องสมัครเข้าเป็น สมาชิกกองทุนก่อน และให้ช าระเงินสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละหนึ่ง โดยหักช าระเต็มจ านวนจาก เงินกู้ที่ได้รับตามสัญญา (2) หากมีการเปลี่ยนแปล งสัญญา โดยเพิ่มวงเงินกู้สมาชิกจะต้องช าระเงินสมทบเพิ่มใน อัตราร้อยละหนึ่งของวงเงินกู้ที่ได้รับอนุมัติเพิ่มจากสัญญาเดิม หลักเกณฑ์การจ่ายเงินกองทุน (1) กรณีที่ผู้กู้ไม่สามารถช าระหนี้ที่เหลือได้ สหกรณ์ฯจะช่วยเหลือผู้ค ้าประกัน โดยกองทุนจะจ่ายเงิน ช่วยเหลือผู้ค ้าประกันในอัตราร้อยละ 50 ของยอดเงินกู้สุทธิ หลังจากน าเงินค่าหุ้น เงินฝากและเงินอื่นใด ที่สมาชิกกองทุนพึงจะได้รับจากสหกรณ์มาชักช าระหนี้แล้ว (2) กองทุนจะจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ค ้าประกัน ได้ต่อเมื่อสมาชิกผู้กู้ที่ตนค ้าประกันได้ช าระ เงินสมทบเข้ากองทุ นครบตามอัตราที่ก าหนด แล้วให้คณะกรรมการเงินกู้ตรวจสอบ น าเสนอขออนุมัติจาก คณะกรรมการด าเนินการทุกราย (3) การจ่ายเงินช่วยเหลือจะจ่ายโดยการผ่อนช าระให้เสร็จสิ้นภายในก าหนดเวลาส่งช าระ หนี้ของผู้กู้ที่เหลืออยู่ตามสัญญา สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก โดยหลักการของสหกรณ์นั้น สมาชิกเป็นเจ้าของสหกรณ์ สมาชิกเป็นผู้บริหารสหกรณ์ และสมาชิกเป็นผู้ใช้บริการของสหกรณ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า สหกรณ์เป็นของสมาชิก บริหารโดยสมาชิก และให้บริการแก่สมาชิก ดังนั้น สมาชิก จึงมีสิทธิและหน้าที่ ดังนี้ สิทธิของสมาชิก จำนวน 9,700 คน • สิทธิ ในการใช้บริการต่าง ๆ ของสหกรณ์ตามความจำเป็น และเหมาะสม เช่น การได้รับคำแนะนำหลักการออม การกู้เงิน พร้อมหลักเกณฑ์ต่าง ๆ การได้รับความรู้ทางวิชาการ เป็นต้น • สิทธิ ในการเลือกตั้งประธาน และคณะกรรมการสหกรณ์ • สิทธิ ในการเข้าร่วมประชุมใหญ่ เพื่อเสนอความเห็นหรือออกเสียงลงคะแนน • สิทธิ ในการควบคุมและเสนอแนะการดำเนินงานของสหกรณ์โดยที่ประชุมใหญ่ • สิทธิ ในการเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการ • สิทธิ ในการเข้าชื่อเรียกประชุมใหญ่วิสามัญ • สิทธิ อื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในข้อบังคับและระเบียบสหกรณ์ หน้าที่ของสมาชิก • หน้าที่ ในฐานะเจ้าของ ต้องทำให้สหกรณ์เจริญ และมีความมั่นคง • หน้าที่ ในฐานะผู้บริการ (กรรมการดำเนินการ) ต้องยึดมั่นในอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการของสหกรณ์ พร้อมทั้งสร้างความชอบธรรมให้เกิดแก่สมาชิกทุกคน ทั้งในกลุ่มของผู้กู้เงินและผู้ออมเงิน • หน้าที่ ในฐานะผู้ใช้บริการ สมาชิกต้องเน้นการออมเพื่อสร้างอนาคตที่มั่นคง ใช้เงินกู้ เฉพาะในสิ่งที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ ปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบสหกรณ์ มีความเข้มแข็งในการดำรงชีวิต ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยการใช้ชีวิตแบบสหกรณ์ด้วยการประหยัดค่าใช้จ่าย เข้มแข็งต่อกระแสสังคมแบบทุนนิยม และอดทนต่อความยากลำบาก • หน้าที่ ที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ และคำสั่งของสหกรณ์ • หน้าที่ ที่จะเข้าร่วมประชุมทุกครั้งที่สหกรณ์นัดหมาย • หน้าที่ ในการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมของสหกรณ์ เพื่อให้สหกรณ์เป็นองค์การที่เข้มแข็ง • หน้าที่ ในการให้ความร่วมมือ กับคณะกรรมการดำเนินการพัฒนาสหกรณ์ให้เจริญรุ่งเรือง และมั่นคง นโยบาย คณะกรรมการดำเนินการ สหกรณ์ออมทรัพย์การประปาส่วนภูมิภาค จำกัด ได้รับความไว้วางใจจากมวลชนสมาชิกให้เข้ามาทำหน้าที่ คณะกรรมการดำเนินการ ซึ่งเป็นพันธะสัญญาอันยิ่งใหญ่ ที่คณะกรรมการดำเนินการจะต้องบริหารงาน ให้บรรลุความพึงพอใจของมวลสมาชิก และการพัฒนาขบวนการสหกรณ์ควบคู่กันไป จึงได้กำหนดนโยบายการดำเนินการเพื่อประโยชน์สูงสุดของสมาชิก โดยมุ่งเน้น คุณธรรม ความซื่อสัตย์ เสียสละ และพัฒนารูปแบบของการบริหารงาน เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกและครอบครัว มีความเป็นอยู่ดีขึ้นกับหลักการและวิธีการสหกรณ์ วัตถุประสงค์ สหกรณ์ออมทรัพย์การประปาส่วนภูมิภาค จำกัด มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดาสมาชิกโดยวิธีช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักสหกรณ์ รวมทั้งในข้อต่อไปนี้ 1. ส่งเสริมให้สมาชิกออมทรัพย์ โดยช่วยให้สามารถสงวนส่วนแห่งรายได้ของตนไว้ในทาง อันมั่นคงและได้รับประโยชน์ตามสมควร 2. ส่งเสริมการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหมู่สมาชิก 3. รับฝากเงินจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น 4. จัดหาทุนเพื่อกิจการตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ 5. ให้เงินกู้แก่สมาชิก 6. ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงิน 7. ซื้อหุ้นของธนาคารซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ 8. ซื้อหุ้นของชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น 9. ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอันทำให้เกิดความสะดวกหรือส่งเสริมความเจริญแก่กิจการของสหกรณ์ 10. ซื้อหลักทรัพย์รัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ 11. ออกตั๋วสัญญาใช้เงินและตราสารการเงิน 12. ฝากหรือลงทุนอย่างอื่นตามกฎหมายและตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติกำหนด 13. ดำเนินการให้กู้ยืมเพื่อการเคหะ 14. ให้สวัสดิการและการสงเคราะห์ตามสมควรแก่สมาชิกและครอบครัว 15. ร่วมมือกับทางราชการ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์และสหกรณ์อื่นเพื่อส่งเสริมและปรับปรุงกิจการของสหกรณ์ 16. กระทำการต่าง ๆ ตามที่อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กล่าวข้างต้น รวมถึง ซื้อ ถือกรรมสิทธิ์หรือทรัพยสิทธิ ครอบครอง กู้ ยืม เช่าหรือให้เช่า เช่าซื้อหรือให้เช่าซื้อ โอนหรือรับโอน สิทธิการเช่าหรือสิทธิการเช่าซื้อ ขายหรือจำหน่าย จำนองหรือรับจำนอง จำนำหรือรับจำนำ ด้วยวิธีอื่นใด ซึ่งทรัพย์สินแก่สมาชิกหรือของสมาชิก 17. ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่สมาชิก 18. ขอหรือรับความช่วยเหลือทางวิชาการจากทางราชการ หน่วยงานของต่างประเทศ หรือบุคคลอื่นใด 19. ดำเนินกิจการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ D – HOUSE GROUP บริษํท เอเอทีแอล กรุ๊ป 67/493 ม.4 ต.ท่าตำหนัก อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 9 ตุลาคม 2563 เรื่อง ขอสนับสนุนทุนการก่อสร้างโครงการและแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป เรียน นายกสมาคม คุณจำรัส หน่องพงษ์ สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ผ่านท่านที่ปรึกษา โดย ดร. สมัย เหมมั่น ประธานกรรมการบริหารและบริษัท ฯในเครือ โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กประชารัฐภาคเอกชน เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป ก่อสร้างโครงการซีเนียร์คอมเพล็ก ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการให้สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของคนไทย มีคุณภาพชีวิตที่ได้รับบริการที่ดีมีการบริการที่ดีตลอดจน มีส่วนหนึ่งซึ่งเป็นผู้ยากไร้และผู้มีรายได้น้อยที่ควรได้รับการบริการฟรี ที่มีคุณภาพ กระผมจึงขอรับการสนับสนุนการลงทุนการก่อสร้างโครงการ จากทางสมาคม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี เพื่อให้โครงการสำเร็จเรียบร้อย และใช้แนวคิดการให้บริการแก่ประชาชนบริการถึงเป้าหมายของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริง จึงได้ขอรับการสนับสนุนการลงทุน มายังท่าน นายกสมาคม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การก่อสร้าง โครงการ เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป จะได้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ กำหนดการลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวง พัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกัน เปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัย.หลังเกษียณ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ปทุมธานี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ หนองเสือ จังหวัดปทุมธานี 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อำเภอ หล่มสัก-อำเภอหล่มเก่า-อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง-อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 4.จังหวัด ชัยภูมิ จำนวน 880 หน่วย อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ 5.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อำเภอจอมบึง-อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี 6.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อำเภอบางใหญ่-อำเภอไทรน้อย จังหวัด นนทบุรี 7.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอแก่งคอย-อำเภอหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการสนับสนุนในการทำโครงการจากท่านในครั้งนี้และขอขอบพระคุณล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ ดร. สมัย เหมมั่น ( ประธานโครงการซีเนียร์คอมเพล็กประชารัฐภาคเอกชน ) 19 ตุลาคม 2563 เรื่อง ขอรับการสนับสนุนทุนการก่อสร้างโครงการและแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป เรียน ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กประชารัฐภาคเอกชน เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้ ตามหนังสือที่ ดร. สมัย เหมมั่น ประธานกรรมการบริหารและบริษัท ฯในเครือ โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กประชารัฐภาคเอกชน เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป ได้ทำเรื่องขอรับ การสนับสนุนทุนการก่อสร้างโครงการและแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้ ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการให้สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของคนไทย มีคุณภาพชีวิตที่ได้รับบริการที่ดีมีการบริการที่ดีตลอดจน มีส่วนหนึ่งซึ่งเป็นผู้ยากไร้และผู้มีรายได้น้อยที่ควรได้รับการบริการฟรี ที่มีคุณภาพนั้น สมาคม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี ยินดีให้การสนับสนุนการจัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อให้โครงการสำเร็จเรียบร้อย และใช้แนวคิดการให้บริการแก่ประชาชนบริการถึงเป้าหมาย ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริง จึงได้ขอรับการสนับสนุนการ การก่อสร้าง โครงการ เพื่อประชาชนคนไทยผู้ยากไร้และสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์บริการต่างๆตลอดจนข้าราชการประชาชนทั่วไป จะได้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ การกำหนดแผนงานการก่อสร้างที่ท่าน ดร.สมัย เหมมั่นได้เสนอมาให้แล้วเสร็จ ตามแผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ นั้นทาง สมาคม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี เห็นด้วยจึงแจ้งมาเพื่อทราบและจะดำเนินการในขั้นตอนต่อไป ขอแสดงความนับถือ นาย จำรัส หน่องพงษ์ (สมาคม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอหนองเสือ ) รูปแบบห้อง บริการเพื่อจำหน่าย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 800 หน่วย ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ 80 หน่วย ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 800 หน่วย ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ 80 หน่วย ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน

ความคิดเห็น